กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เทศบาลตำบลเทพา ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางคาตุนา รามชัยเดช




ชื่อโครงการ โครงการศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เทศบาลตำบลเทพา ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5190-2-09 เลขที่ข้อตกลง 15/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เทศบาลตำบลเทพา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เทศบาลตำบลเทพา ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เทศบาลตำบลเทพา ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5190-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,932.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ด้วยกระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายคนไทยห่างไกลโรคและภัยสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพทุกมิติและวิถีชีวิต เพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สู่การปฏิบัติ ที่ให้เอื้อต่อการควบคุมดูแลและส่งเสริมสุขภาพ ผลักดันและขับเคลื่อนภารกิจศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs)ให้เกิดขึ้นทุกตำบลจากข้อมูลคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์1ประจำปี 2568 ผลงานการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป เป้าหมายคัดกรองเบาหวาน 977 คน ได้รับการคัดกรอง 853 คนคิดเป็นร้อยละ 87.30 พบกลุ่มเสี่ยงจำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 7.73 และเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 4.54 จำนวนเป้าหมายคัดกรองความดันโลหิตสูง 867 คน ได้รับการคัดกรอง 767 คน คิดเป็นร้อยละ 88.46 พบกลุ่มเสี่ยงจำนวน 216 คน คิดเป็นร้อยละ 28.16 และเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ 14 คน คิดเป็นร้อยละ 6.46 ซึ่งแนวโน้มจะพบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลเทพา ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญที่จะส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมาย มีความเข้าใจตระหนักและให้ความสำคัญและได้รับการคัดกรองโรคได้ให้มากที่สุด และเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายที่จะต้องดูแลรักษาผู้ป่วยชุมชนสามารถดูแลตนเองด้วยชุมชนเอง จึงมีการจัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) ขึ้นในชุมชนมุสลิม เพื่อชุมชนดูแลสุขภาพคนในชุมชนสร้างสุขภาพที่ดีขึ้นและเป็นการสนองตามนโยบายหลักประกันสุขภาพอีกทางหนึ่ง จึงได้จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริม กระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนัก รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น เป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและดูแลตนเอง
  2. ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตนเองไม้ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
  3. 3. เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดซื้ออุปกรณ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ๒ เพื่อให้กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓ เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
๔ เกิดศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน และมีการดำเนินกิจกรรมในอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : ๑ อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ ๕.๒ 2.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง ร้อยละ ๒.๕
0.00

 

2 ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตนเองไม้ให้เกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๔๐ 2.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๕๐
0.00

 

3 3. เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ ๕๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและดูแลตนเอง (2) ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันตนเองไม้ให้เกิดโรคแทรกซ้อน (3) 3. เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดซื้ออุปกรณ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์คนไทยห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เทศบาลตำบลเทพา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5190-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคาตุนา รามชัยเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด