โครงการเครือข่ายนมแม่ชุมชนบ้านแฉงแหวง ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเครือข่ายนมแม่ชุมชนบ้านแฉงแหวง ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3065-2-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอสม.บ้านแฉงแหวง ม.5 ตำบลตุยง |
วันที่อนุมัติ | 30 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 13,770.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางพรพิศ แซ่ตัน |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสาวอัฟนาน ยูโซ๊ะ |
พื้นที่ดำเนินการ | หมู่ที่ 5 บ้านแฉงแหวง ตำบลตุยง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.837684,101.175402place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ความเจริญทางเทคโนโลยีและนวัตรกรรมทางการแพทย์ลาธารณสุขเป็นเหตุให้มนุษย์ชาติมีอายุยืนยาวขึ้น การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ควบคู่กับการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆของทารก เป็นจุดเริ่มต้นและพื้นฐานสำคัญในการดูแลเด็ก เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโต แข็งแรงสมบูรณ์จากการศึกษาพบว่า นมแม่มีผลต่อพัฒนาการด้านกระบวนการรับรู้ การคิดของเด็ก ช่วยปกป้องทารกจากโรคติดเชื้อ และโรคเรื้อรังต่างๆนอกจากนั้นยังพบว่าพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กที่กินนมแม่อย่างต่อเนื่อง จะมีเชาว์ปัญญาที่ดีกว่าเด็กที่กินนมผสม โดยพบว่า เด็กที่กินนมแม่มานาน 9 เดือน จะมีเชาว์ปัญญาเฉลี่ยอยู่ที่ 104 สูงกว่ากลุ่มที่กินนมแม่น้อยกว่า 1 เดือน ซึ่งมีระดับเชาว์ปัญญาอยู่ที่ 94.4ซึ่งสรุปได้ว่า ต้นทุนทางสมองที่ดีของเด็กแต่ละคน ขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ได้รับนมแม่จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ของชุมชนบ้านแฉงแหวง หมู่ 5 ตำบลตุยงในปีงบประมาณ 2567 อยู่ที่ ร้อยละ 50 ดังนั้นการพัฒนาประชากรแม่และเด็กสู่ความยั่งยืน และการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างต่อเนื่อง จำเป็นต้องอาศัยการพัฒนาการดำเนินงานอย่างบูรณาการตามกระบวนการคุณภาพ เชื่อมโยงสู่ครัวเรือน และชุมชนเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ตลอดจนการสร้างความรัก ความอบอุ่น ให้เกิดสายใยรัก สายใยความผูกพันในครอบครัว จะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นคนดีมีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นให้การสนับสนุนช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องยั่งยืน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องนมแม่ วิธีการทำให้มีน้ำนมเพียงพอและวิธีการเก็บนมที่ถูกต้อง หลังการอบรมกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เฉลี่ยที่ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 |
40.00 | 38.00 |
2 | เพื่อรณรงค์ให้มารดามีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือน ร้อยละ 60 ขึ้นไป ของหญิงหลังคลอดมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน |
10.00 | 6.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 ก.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ชุมชนมีส่วนร่วม | 0 | 0.00 | - | ||
1 - 31 ก.ค. 68 | ส่งเสริมความรู้ | 0 | 12,720.00 | - | ||
1 - 31 ส.ค. 68 | รุกบ้าน รุกชุมชน | 0 | 0.00 | - | ||
1 ส.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ประเมินผลโครงการ | 0 | 1,050.00 | - | ||
รวม | 0 | 13,770.00 | 0 | 0.00 |
- หญิงหลังคลอด เครือข่ายสุขภาพมีความรู้เรื่องนมแม่ วิธีการทำให้มีน้ำนมเพียงพอและวิธีการเก็บนมที่ถูกต้อง
- ประชาชนในพื้นที่ตระหนักเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2568 12:40 น.