กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางกมลรัตน์ สังขะกูล




ชื่อโครงการ โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5275-02-006 เลขที่ข้อตกลง 22

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5275-02-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 พฤษภาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชุมชนพรุชบา หมู่ที่ 7 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีครัวเรือนทั้งหมด 987 ครัวเรือน มีประชากรจำนวน 2,734 คน (อ้างอิง งานทะเบียนราษฎร์เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ณ เดือน เมษายน ๒๕๖๘) คาดการณ์ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น ประมาณวันละ 3,๔๖0 กิโลกรัมต่อวัน(อัตราการเกิดขยะมูลฝอย ปี 2567 เท่ากับ 1.1๒ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน) (อ้างอิง รายงานสถานการณ์สถานที่กำจัดมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๖ : กรมควบคุมมลพิษกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ประกอบกับชุมชนพรุชบาเป็นเส้นทางผ่านน้ำตกโตนงาช้างซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมแห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลา โดยมีสถานประกอบการจำหน่ายอาหารและร้านค้าตลอดสองข้างทาง แม้ว่าเทศบาลได้มีการณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติกและภาชนะโฟมบรรจุอาหาร แต่ยังพบว่าประชาชนยังมีพฤติกรรมใช้และทิ้งถุงพลาสติกหรือภาชนะโฟมบรรจุอาหารในที่ทางสาธารณะทำให้ชุมชนพรุชบาไม่สะอาด ไม่เป็นระเบียบ และอาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์พาหะนำโรคในชุมชน เช่น หนู แมลงตอม ยุง เป็นต้น ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ เนื่องจากถุงพลาสติกและโฟมบรรจุอาหารมีระยะเวลาในการย่อยสลายเองตามธรรมชาติยาวนาน ทั้งนี้จากการที่ครัวเรือนขาดความตระหนักในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เทศบาลดำเนินการเก็บขนมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ทำให้มีขยะตกค้างในชุมชนหรือครัวเรือน
เครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) บ้านพรุชบา ซึ่งมีบทบาทและหน้าที่ในการเฝ้าระวัง สอดส่อง ดูแล รวมทั้งรายงานสถานการณ์การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ จึงได้จัดทำ “โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ” เพื่อรณรงค์การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ในการคัดแยกขยะมูลฝอย เพื่อส่งเสริมการลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกและโฟมบรรจุอาหาร เพื่อความสะอาดเป็นระเบียบของชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอย
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมสมาชิกอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก จำนวน 2 ครั้ง
  2. 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยและการนำไปใช้ประโยชน์ของขยะมูลฝอยชุมชน
  3. 3.กิจกรรมรับฟังความคิดเห็นและกำหนดแนวทางลดปริมาณขยะมูลฝอยของชุมชนพรุชบา
  4. 4.กิจกรรมลงนามความร่วมมือ “สัญญาคนพรุชบาสะอาด...ลดและคัดแยกขยะ”
  5. 5.กิจกรรม “พกถุงผ้า พรุชบาสะอาด”
  6. 6. ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะมูลฝอยครัวเรือน 2.ประชาชนตระหนักและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน 3.ชุมชนสะอาดเป็นระเบียบ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน
0.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : มี “ธรรมนูญหมู่บ้าน” ในการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยของชุมชน - ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมหรือมาตรการในการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอย (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมสมาชิกอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก จำนวน 2 ครั้ง (2) 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยและการนำไปใช้ประโยชน์ของขยะมูลฝอยชุมชน (3) 3.กิจกรรมรับฟังความคิดเห็นและกำหนดแนวทางลดปริมาณขยะมูลฝอยของชุมชนพรุชบา (4) 4.กิจกรรมลงนามความร่วมมือ “สัญญาคนพรุชบาสะอาด...ลดและคัดแยกขยะ” (5) 5.กิจกรรม “พกถุงผ้า พรุชบาสะอาด” (6) 6. ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5275-02-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกมลรัตน์ สังขะกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด