โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ”
หัวหน้าโครงการ
นายนุอมาน วาเตะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L4134-3-2 เลขที่ข้อตกลง 4/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L4134-3-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุหรือคนชรา ตามคำจำกัดความขององค์การอนามัยโลก หมายถึงคนที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปทั้งเพศหญิงและเพศชาย ปัจจุบันพื้นที่ตำบลบันนังสาเรง มีผู้สูงอายุจำนวน 779 ราย เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุ มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเรื่อยๆทุกปี เหตุที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และการพัฒนางานด้านสาธารณสุขทำให้สุขภาพอนามัยของประชาชนดีขึ้น และมีอายุยืนยาวทำให้ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้น ผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นทรัพยากรของชาติที่มีคุณค่าทุกคนควรให้ความรักเคารพและดูแลเอาใจใส่เนื่องจากเป็นผู้ที่สร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อนสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมอันดีไปสู่ลูกหลาน แต่ปัจจุบันผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข จึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต รวมถึงการใส่ใจในเรื่องของการนำผู้สูงอายุออกจากห้องหรือสถานที่เดิมๆ ไปรับชมสิ่งสวยงาม พบเจอสิ่งแปลกใหม่ ได้เปิดรับประสบการณ์รับที่แปลกใหม่ จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพจิตใจ ความสุข และความสัมพันธ์ที่ได้ในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังช่วยให้ผู้สูงอายุมีจิตใจแจ่มใส เติมพลังใจให้พร้อมต่อการมีชีวิตต่อไปด้วย
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลบันนังสาเรง ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างความรู้ให้กับผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพของตนเองและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ด้านการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ มีความสุขและเป็นประโยชน์ต่อตนเองครอบครัวและชุมชน จึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีสุขภาพอนามัย ที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ตามความเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมและสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในบั้นปลายชีวิต
- เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุและผู้ดูแลทำกิจกรรมร่วมกัน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้แสดงศักยภาพในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพของตัวเองได้
- ผู้สูงอายุ ได้รับการสร้างขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน
- ผู้สูงอายุ มีการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมร่วมกัน มีโอกาสแสดงความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีสุขภาพอนามัย ที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ตามความเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อส่งเสริมและสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในบั้นปลายชีวิต
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุและผู้ดูแลทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้แสดงศักยภาพในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีสุขภาพอนามัย ที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ตามความเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมและสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในบั้นปลายชีวิต (3) เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุและผู้ดูแลทำกิจกรรมร่วมกัน (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้แสดงศักยภาพในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L4134-3-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายนุอมาน วาเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ”
หัวหน้าโครงการ
นายนุอมาน วาเตะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L4134-3-2 เลขที่ข้อตกลง 4/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L4134-3-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุหรือคนชรา ตามคำจำกัดความขององค์การอนามัยโลก หมายถึงคนที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปทั้งเพศหญิงและเพศชาย ปัจจุบันพื้นที่ตำบลบันนังสาเรง มีผู้สูงอายุจำนวน 779 ราย เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุ มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเรื่อยๆทุกปี เหตุที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และการพัฒนางานด้านสาธารณสุขทำให้สุขภาพอนามัยของประชาชนดีขึ้น และมีอายุยืนยาวทำให้ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้น ผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นทรัพยากรของชาติที่มีคุณค่าทุกคนควรให้ความรักเคารพและดูแลเอาใจใส่เนื่องจากเป็นผู้ที่สร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อนสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมอันดีไปสู่ลูกหลาน แต่ปัจจุบันผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข จึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต รวมถึงการใส่ใจในเรื่องของการนำผู้สูงอายุออกจากห้องหรือสถานที่เดิมๆ ไปรับชมสิ่งสวยงาม พบเจอสิ่งแปลกใหม่ ได้เปิดรับประสบการณ์รับที่แปลกใหม่ จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพจิตใจ ความสุข และความสัมพันธ์ที่ได้ในครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังช่วยให้ผู้สูงอายุมีจิตใจแจ่มใส เติมพลังใจให้พร้อมต่อการมีชีวิตต่อไปด้วย ดังนั้น ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลบันนังสาเรง ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างความรู้ให้กับผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพของตนเองและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ด้านการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ มีความสุขและเป็นประโยชน์ต่อตนเองครอบครัวและชุมชน จึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีสุขภาพอนามัย ที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ตามความเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมและสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในบั้นปลายชีวิต
- เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุและผู้ดูแลทำกิจกรรมร่วมกัน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้แสดงศักยภาพในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพของตัวเองได้
- ผู้สูงอายุ ได้รับการสร้างขวัญและกำลังใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน
- ผู้สูงอายุ มีการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมร่วมกัน มีโอกาสแสดงความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีสุขภาพอนามัย ที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ตามความเหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมและสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในบั้นปลายชีวิต ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุและผู้ดูแลทำกิจกรรมร่วมกัน ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้แสดงศักยภาพในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีสุขภาพอนามัย ที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ตามความเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมและสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในบั้นปลายชีวิต (3) เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุและผู้ดูแลทำกิจกรรมร่วมกัน (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้แสดงศักยภาพในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L4134-3-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายนุอมาน วาเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......