กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี ”
ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางอุบล วัฒนศักดิ์ภูบาล




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี

ที่อยู่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3067-01-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3067-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,776.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาขยะเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศซึ่งสาเหตุหนึ่งนั้นเกิดจากประชาชนไม่รู้จักวิธีการบริหารจัดการขยะและการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง โดยส่วนใหญ่จะทิ้งลงตามสถานที่สาธารณะ หรือทิ้งลงตามแม่น้ำ ลำคลอง โดยนโยบายรัฐบาลปัจจุบัน ได้กำหนดให้การเร่งรัดแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ เป็นวาระแห่งชาติที่ต้องได้รับการแก้ไขเป็นลำดับแรก โดยให้ดำเนินการตาม Road map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เพื่อกำจัดมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่กำจัดในพื้นที่วิกฤต สร้างรูปแบบการกำจัดขยะและของเสียอันตรายที่เหมาะสม วางระเบียบมาตรการ การบริหารจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย และสร้างวินัยของคนในชาติ ให้ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” โดยมุ่งเรื่องการคัดแยกขยะเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ทั้งการรีไซเคิล และการแปรรูปเป็นพลังงานภายใต้หลักการ ๓ ช : ใช้น้อยลง ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่ (๓Rs : Reduce Reuse Recycle)ที่มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เพื่อสร้างความสมดุลและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน และยังเป็นการดำเนินการตามนโยบายสำคัญของกระทรวงมหาดไทยในการแก้ไขปัญหาขยะ ตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ที่มีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ.2560 ภายใต้กรอบการดำเนินงาน 3 ระยะ ได้แก่ ต้นทาง คือการลดปริมาณขยะ การส่งเสริมการคัดแยกขยะที่ต้นทาง กลางทาง คือ การจัดทำระบบเก็บขนอย่างมีประสิทธิภาพ และปลายทาง คือ ขยะมูลฝอยได้รับการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและกำจัดให้หมดไปการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนเป็นการจัดการขยะที่ต้นทาง ซึ่งการลดปริมาณขยะเปียก หรือเศษอาหารที่มีปริมาณน้ำหนักมากที่สุด จะช่วยลดปัญหากลิ่นน้ำเสียจากการเก็บขนขยะ ลดภาระงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการขยะ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากบ่อฝังกลบอีกทั้งขยะเปียกที่เปลี่ยนเป็นสารปรับปรุงดินสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนได้ ปัญหาด้านขยะมูลฝอยเกิดขึ้นกับชุมชนทุกแห่ง ทั้งเมืองขนาดเล็ก ถึงเมืองใหญ่ในตัวจังหวัด อำเภอ ตำบล หรือแม้กระทั้งในชุมชน ตำบลบางเขา เป็นอีกพื้นที่ที่ประสบกับปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งมีจำนวนขยะอินทรีย์เป็นจำนวนมากในพื้นที่ และเพื่อเป็นการสนองนโยบายและเป็นการแก้ไขปัญหาขยะ องค์การบริหารส่วนตำบลบางเขา และแกนนำชุมชน ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือ ร่วมใจ จากทุกภาคส่วน รวมทั้งประชาชนในพื้นที่ ซึ่งนับเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนชุมชนในการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนเป็นการจัดการขยะที่ต้นทาง ซึ่งการลดปริมาณขยะเปียกในพื้นที่ได้เป็นจำนวนมาก เพื่อนำเข้าสู่ขั้นตอนการจัดการขยะที่ถูกต้องต่อไป ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลบางเขา ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดีในตำบลบางเขา ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะเปียกครัวเรือนอย่างถูกต้อง โดยสามารถแก้ปัญหาได้ตั้งแต่ต้นทาง เป็นการลดปริมาณขยะเปียกในครัวเรือน และช่วยแก้ปัญหาด้านการสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลบางเขา ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ลดปริมาณขยะเปียก และนำมาคัดแยกเพื่อการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน
  2. เพื่อสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะและลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ
  3. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน ในการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน
  4. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค และพาหะนำโรคต่าง ๆ
  5. เพื่อดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อม ให้มีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะ และการจัดการขยะเปียกครัวเรือน โดยการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนและการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ
  2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การคัดแยกขยะ และติดตามการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน ในครัวเรือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถขับเคลื่อนโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ครบทุกหลังคาเรือน
  2. ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะด้วยหลักการ 3Rs การจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน และสามารถนำไปปฏิบัติในครัวเรือนต่อไป
  3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้กับประชาชนในชุมชน ให้ตระหนักถึงปัญหาภาวะโลกร้อนอันเกิดจากการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม
  4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีการดำเนินการจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือนตนเองและ แลกเปลี่ยนกับประชาชนในหมู่บ้าน ตำบลบางเขา
  5. สร้างรูปแบบการจัดการขยะโดยประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
  6. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 1 คน สามารถขยายผลให้เพื่อนบ้าน หรือญาติพี่น้อง ในการทำถังขยะเปียกต่อ 1 ครัวเรือนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ลดปริมาณขยะเปียก และนำมาคัดแยกเพื่อการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
60.00 100.00

 

2 เพื่อสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะและลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00

 

3 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน ในการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00

 

4 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค และพาหะนำโรคต่าง ๆ
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00

 

5 เพื่อดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อม ให้มีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย
ตัวชี้วัด :
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ลดปริมาณขยะเปียก และนำมาคัดแยกเพื่อการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะและลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ (3) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน ในการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน (4) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค และพาหะนำโรคต่าง ๆ (5) เพื่อดูแลและรักษาสิ่งแวดล้อม ให้มีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะ และการจัดการขยะเปียกครัวเรือน โดยการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนและการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ (2) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การคัดแยกขยะ และติดตามการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน  ในครัวเรือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์จัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3067-01-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุบล วัฒนศักดิ์ภูบาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด