โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุ โดยสมบูรณ์ ในปีพ.ศ. 2564 คือประชากรสูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5 และในอีก 20 ปี (พ.ศ 2578) โดยประมาณการว่าจะมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มเป็นร้อยละ 30 ของจำนวนประชากรทั้งหมดจึงถือได้ว่าประเทศไทยมีประชากรวัยพึ่งพิงมากกว่าวัยแรงงาน แต่ผู้สูงอายุซึ่งถือได้ว่าเป็นปูชนียบุคคลของชาติที่มีคุณค่าทุกคนควรให้ความรักเคารพ และดูแลเอาใจใส่เนื่องจากเป็นผู้ที่ผ่านประสบการณ์มามาก เคยเป็นกำลังสำคัญสร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อน สามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีการดำรงชีวิตดั้งเดิมอันดีไปสู่ลูกหลาน แต่ปัจจุบันผู้สูงอายุบางส่วนถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น ฉะนั้นผู้สูงอายุควรสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพเพื่อให้ปลอดภัยจากโรคเรื้อรังรวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคไม่ให้มีอาการที่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยไปกว่าเดิม การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเนื่องจากข้อเข่าเสื่อมเหล่านี้เป็นต้น เพื่อที่จะสามรถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยที่สุดและส่งผลให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ช่วยให้คนรอบข้างหรือครอบครัวทั้งสังคมมีความสุขด้วยและครอบครัวเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดแต่มีความสำคัญที่สุด ถ้าครอบครัวให้ความสำคัญและเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้วครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสุข และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมาเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและส่งเสริมสถาบันครอบครัวดังกล่าว จึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อตรวจสุขภาพเบื้องต้น ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตส่งเสริมความรู้เรื่องการออกกำลังกาย ถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ลูกหลาน มีกิจกรรมที่ดีในกลุ่มและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้อยู่อย่างมีความสุขไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียดพูดคุยให้กำลังใจ มีความรักความสามัคคี มีความสัมพันธ์ที่ดี มีความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เช่น โดยวิธี โยคะ มณีเวช เป็นต้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให็ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
2. ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมร่วมกัน มีการพบปะพูดคุยให้กำลังใจ มีความรักความสัมพันธ์ที่ดีอยู่ร่วมกันในสังคม
อย่างมีความสุข ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ให้กับผู้สูงอายุรายอื่นได้มองเห็นคุณค่าตัวเอง มีความต้องการเข้าร่วมกิจกรรม
3. มีการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย อย่างสม่ำเสมอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียดพูดคุยให้กำลังใจ มีความรักความสามัคคี มีความสัมพันธ์ที่ดี มีความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เช่น โดยวิธี โยคะ มณีเวช เป็นต้น
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุ มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง
2.ร้อยละ90ผู้สูงอายุ ร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุขไม่ เครียดโดยใช้แบบประเมินความเครียดผลอยู่ในระดับปกติ
3.ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุมีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียดพูดคุยให้กำลังใจ มีความรักความสามัคคี มีความสัมพันธ์ที่ดี มีความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เช่น โดยวิธี โยคะ มณีเวช เป็นต้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให็ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุ โดยสมบูรณ์ ในปีพ.ศ. 2564 คือประชากรสูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5 และในอีก 20 ปี (พ.ศ 2578) โดยประมาณการว่าจะมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มเป็นร้อยละ 30 ของจำนวนประชากรทั้งหมดจึงถือได้ว่าประเทศไทยมีประชากรวัยพึ่งพิงมากกว่าวัยแรงงาน แต่ผู้สูงอายุซึ่งถือได้ว่าเป็นปูชนียบุคคลของชาติที่มีคุณค่าทุกคนควรให้ความรักเคารพ และดูแลเอาใจใส่เนื่องจากเป็นผู้ที่ผ่านประสบการณ์มามาก เคยเป็นกำลังสำคัญสร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อน สามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีการดำรงชีวิตดั้งเดิมอันดีไปสู่ลูกหลาน แต่ปัจจุบันผู้สูงอายุบางส่วนถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น ฉะนั้นผู้สูงอายุควรสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพเพื่อให้ปลอดภัยจากโรคเรื้อรังรวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคไม่ให้มีอาการที่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยไปกว่าเดิม การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเนื่องจากข้อเข่าเสื่อมเหล่านี้เป็นต้น เพื่อที่จะสามรถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยที่สุดและส่งผลให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ช่วยให้คนรอบข้างหรือครอบครัวทั้งสังคมมีความสุขด้วยและครอบครัวเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดแต่มีความสำคัญที่สุด ถ้าครอบครัวให้ความสำคัญและเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้วครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสุข และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมาเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและส่งเสริมสถาบันครอบครัวดังกล่าว จึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อตรวจสุขภาพเบื้องต้น ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตส่งเสริมความรู้เรื่องการออกกำลังกาย ถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ลูกหลาน มีกิจกรรมที่ดีในกลุ่มและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้อยู่อย่างมีความสุขไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียดพูดคุยให้กำลังใจ มีความรักความสามัคคี มีความสัมพันธ์ที่ดี มีความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เช่น โดยวิธี โยคะ มณีเวช เป็นต้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให็ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม 2. ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมร่วมกัน มีการพบปะพูดคุยให้กำลังใจ มีความรักความสัมพันธ์ที่ดีอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมีความสุข ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ให้กับผู้สูงอายุรายอื่นได้มองเห็นคุณค่าตัวเอง มีความต้องการเข้าร่วมกิจกรรม 3. มีการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย อย่างสม่ำเสมอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียดพูดคุยให้กำลังใจ มีความรักความสามัคคี มีความสัมพันธ์ที่ดี มีความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เช่น โดยวิธี โยคะ มณีเวช เป็นต้น ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุ มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง 2.ร้อยละ90ผู้สูงอายุ ร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุขไม่ เครียดโดยใช้แบบประเมินความเครียดผลอยู่ในระดับปกติ 3.ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุมีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียดพูดคุยให้กำลังใจ มีความรักความสามัคคี มีความสัมพันธ์ที่ดี มีความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เช่น โดยวิธี โยคะ มณีเวช เป็นต้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให็ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ รพสตตำบลควนกาหลง ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......