โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม ”
หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
หัวหน้าโครงการ
นายนิวัติ นุ้ยฉิม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
ที่อยู่ หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L3328-1-03 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม รหัสโครงการ 2568-L3328-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญ หากไม่มีการดำเนินการป้องกัน และรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ โรคเบาหวานจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายรวมทั้งการเกิดแผลที่เท้า ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย อีกทั้งยังเป็น 1. หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญ หากไม่มีการดำเนินการป้องกัน และรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ โรคเบาหวานจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายรวมทั้งการเกิดแผลที่เท้า ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย อีกทั้งยังเป็น สาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องถูกตัดเท้า หรือตัดขาและ เสียชีวิตได้ แผลที่เท้าเป็นปัญหา เรื้อรัง และมีผลต่อคุณภาพชีวิตสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษา
สาเหตุสำคัญของการเกิดแผลที่เท้าคือโรคหลอดเลือดส่วนปลาย และภาวะปลายประสาทเท้าเสื่อม ความผิด ปกติของการเคลื่อนไหวข้อต่อบริเวณเท้า หากสามารถตรวจพบและให้การรักษาตั้งแต่ระยะแรก มีการเฝ้าระวังการ เกิดแผล จะสามารถลดอุบัติการการเกิดแผลที่เท้าและการถูกตัดเท้าหรือตัดขาได้
จากที่ผู้ขอประเมินได้ตรวจประเมินระดับ ความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ที่มารับบริการ ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนอินนอโม ประจำปี 2565 - 2567 มีผู้ป่วยเบาหวาน ทั้งหมดจำนวน 184 ราย ได้ดำเนินการตรวจเท้าทั่วไปและตรวจประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลเบาหวานที่เท้า จำนวน 139 ราย พบว่ามีระดับความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้าระดับเสี่ยงต่ำ (Row risk) จำนวน 126 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.65 และระดับเสี่ยงปานกลาง - ระดับเสี่ยงสูง (Moderate Risk - High Risk) จำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.35 และในจำนวนกลุ่มเสี่ยงนี้ มีผู้ป่วยเบาหวานที่มีประวัติเคยถูกตัดนิ้วเท้าแล้ว จำนวน 2 ราย และยังคงมีแผลเรื้อรัง
คลินิก NCD รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จึงมีแนวคิดในการพัฒนาการเฝ้าระวังสุขภาพเท้าเบาหวาน (Primary diabetic footcare) ในคลินิก ตามบทบาทของสถานบริการระดับปฐมภูมิ โดยการสนับสนุนและให้ความรู้โรคเบาหวาน ฝึกทักษะการดูแลรักษาเท้าแก่ผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดูแลรักษาเท้าผู้ป่วยเบาหวานได้ตั้งแต่ระยะแรก จะสามารถลดอุบัติการณ์การเกิด แผลและการถูกตัดขาหรือตัดเท้าได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลเท้า การบริหารและนวดเท้า
- เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกตัดเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมให้ความรู้และการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวานโดยแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมวันละ 50 คนจำนวน 3 วัน ในช่วงเวลา 13.00 น. ถึง 16.00 น.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้า และมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้อง
- ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้า และได้รับการดูแลติดตาม ตามแนวทางการการดูแลเท้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลเท้า การบริหารและนวดเท้า
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้า ร้อยละ 80
2
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกตัดเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลเท้า การบริหารและนวดเท้า (2) เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกตัดเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมให้ความรู้และการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวานโดยแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมวันละ 50 คนจำนวน 3 วัน ในช่วงเวลา 13.00 น. ถึง 16.00 น.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L3328-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายนิวัติ นุ้ยฉิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม ”
หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
หัวหน้าโครงการ
นายนิวัติ นุ้ยฉิม
กันยายน 2568
ที่อยู่ หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L3328-1-03 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนอินนอโม รหัสโครงการ 2568-L3328-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญ หากไม่มีการดำเนินการป้องกัน และรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ โรคเบาหวานจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายรวมทั้งการเกิดแผลที่เท้า ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย อีกทั้งยังเป็น 1. หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญ หากไม่มีการดำเนินการป้องกัน และรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ โรคเบาหวานจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายรวมทั้งการเกิดแผลที่เท้า ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย อีกทั้งยังเป็น สาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องถูกตัดเท้า หรือตัดขาและ เสียชีวิตได้ แผลที่เท้าเป็นปัญหา เรื้อรัง และมีผลต่อคุณภาพชีวิตสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษา สาเหตุสำคัญของการเกิดแผลที่เท้าคือโรคหลอดเลือดส่วนปลาย และภาวะปลายประสาทเท้าเสื่อม ความผิด ปกติของการเคลื่อนไหวข้อต่อบริเวณเท้า หากสามารถตรวจพบและให้การรักษาตั้งแต่ระยะแรก มีการเฝ้าระวังการ เกิดแผล จะสามารถลดอุบัติการการเกิดแผลที่เท้าและการถูกตัดเท้าหรือตัดขาได้ จากที่ผู้ขอประเมินได้ตรวจประเมินระดับ ความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ที่มารับบริการ ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนอินนอโม ประจำปี 2565 - 2567 มีผู้ป่วยเบาหวาน ทั้งหมดจำนวน 184 ราย ได้ดำเนินการตรวจเท้าทั่วไปและตรวจประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลเบาหวานที่เท้า จำนวน 139 ราย พบว่ามีระดับความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้าระดับเสี่ยงต่ำ (Row risk) จำนวน 126 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.65 และระดับเสี่ยงปานกลาง - ระดับเสี่ยงสูง (Moderate Risk - High Risk) จำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.35 และในจำนวนกลุ่มเสี่ยงนี้ มีผู้ป่วยเบาหวานที่มีประวัติเคยถูกตัดนิ้วเท้าแล้ว จำนวน 2 ราย และยังคงมีแผลเรื้อรัง คลินิก NCD รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จึงมีแนวคิดในการพัฒนาการเฝ้าระวังสุขภาพเท้าเบาหวาน (Primary diabetic footcare) ในคลินิก ตามบทบาทของสถานบริการระดับปฐมภูมิ โดยการสนับสนุนและให้ความรู้โรคเบาหวาน ฝึกทักษะการดูแลรักษาเท้าแก่ผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดูแลรักษาเท้าผู้ป่วยเบาหวานได้ตั้งแต่ระยะแรก จะสามารถลดอุบัติการณ์การเกิด แผลและการถูกตัดขาหรือตัดเท้าได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลเท้า การบริหารและนวดเท้า
- เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกตัดเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมให้ความรู้และการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวานโดยแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมวันละ 50 คนจำนวน 3 วัน ในช่วงเวลา 13.00 น. ถึง 16.00 น.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้า และมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้อง
- ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้า และได้รับการดูแลติดตาม ตามแนวทางการการดูแลเท้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลเท้า การบริหารและนวดเท้า ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้า ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกตัดเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลเท้า การบริหารและนวดเท้า (2) เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกตัดเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมให้ความรู้และการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวานโดยแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมวันละ 50 คนจำนวน 3 วัน ในช่วงเวลา 13.00 น. ถึง 16.00 น.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการดูแลตนเองและให้ความรู้การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิก NCDs รพ.สต.บ้านควนอินนอโม จังหวัด
รหัสโครงการ 2568-L3328-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายนิวัติ นุ้ยฉิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......