โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัตติกาล จันทร์ฝาก อสม. ม.7 บ้านวังเจริญ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-35 เลขที่ข้อตกลง 32/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันยาเสพติดได้แพร่ขยายเข้าสู่ชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรงและผลกระทบมากมาย โดยพบว่า ผู้ป่วยจิตเวชจากการเสพยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการรักษาในแต่ละปี ราวครึ่งหนึ่งเป็นผู้ที่ก่อความรุนแรงด้วย 4 ปัญหาใหญ่ จาก “ยาเสพติดในชุมชน” ได้แก่ 1) ปัญหาด้านสาธารณสุข ร่างกายของผู้ที่เสพยาเสพติดทรุดโทรม อ่อนแอ เสียสุขภาพ มีผลต่อระบบสมองและประสาท 2) ปัญหาด้านสังคม ทำให้สังคมเสื่อมโทรม เนื่องจากผู้เสพจำนวนมาก ไม่ยอมทำงาน ไม่เรียนหนังสือ และอาจเกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่มผู้เสพยากับกลุ่มคนปกติ 3) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐในการใช้จ่ายเพื่อรักษาผู้ป่วยที่ติดยาเสพติดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ทั้งยังทำให้ขาดแรงงานที่มีประสิทธิภาพ 4.) ปัญหาอาชญากรรม เนื่องจากยาเสพติดทำให้ขาดสติ เกิดปัญหาลักทรัพย์ หรืออาชญากรรมต่าง ๆ เช่น จี้จับตัวเนื่องมาจากเกิดการหลอน และการประทุษร้ายผู้อื่น
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของกลุ่มเด็กและเยาวชนมักมีสาเหตุพื้นฐานมาจาก 1) สถานภาพทางครอบครัวที่พ่อแม่หย่าร้าง 2) อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนที่ชักจูงจนเกิดความอยากรู้และอยากลอง 3) ปัญหาพฤติกรรมลอกเลียนแบบจากกลุ่มเพื่อนหรือผู้ปกครอง 4) ความเสี่ยงที่เกิดจากสื่อที่มีการแสดงตัวอย่างจนทำให้เกิดความเข้าใจผิดในหมู่เยาวชน เช่น ความเท่ ความรวย ที่ได้จากการเสพยาและการจำหน่ายยาเสพติด 5) สภาพแวดล้อมในชุมชนและระดับการศึกษาที่ทำให้เยาวชนขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติด ที่ผ่านมา การแก้ไขปัญหายาเสพติดในประเทศไทยทำได้จำกัด เนื่องจากไม่สามารถจัดการแหล่งผลิตยาเสพติดภายนอกประเทศได้ อาทิ กลุ่มว้า มูเซอ ไทยใหญ่ โกกัง และมีความพยายามลักลอบนำยาเสพติดเข้ามาในไทยอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งปัญหาการแพร่ระบาดในหมู่บ้านหรือชุมชนก็ไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง ที่สำคัญปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 24 ปี มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า “ปัญหายาเสพติด” กำลังเป็นปัญหาที่คุกคามสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นภัยต่อสุขภาพกายและจิตต่อกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน ดังนั้น การแก้ปัญหายาบ้าในกลุ่มเยาวชนจึงเป็นเรื่องสำคัญเร่งด่วน ที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันในการแก้ไข เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพในระยะยาว
ปัจจุบัน สถานการณ์การแพร่ระบาดและข่าวที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในบ้านวังเจริญยังคงมีให้เห็นและติดตามกันอย่างต่อเนื่อง ประชาชน หมู่ที่ 7 บ้านวังเจริญ มีประชากร ทั้งหมด 266 คน เป็นประชากรอายุ 15-45 ปี ทั้งหมด 100 คน ซึ่งปัญหายาเสพติดมีให้เห็นและได้ฟังเสมอ โดยไม่มีแนวโน้มว่าจะลดลง แม้ว่าจะมีมาตรการและนโยบายต่าง ๆ เพื่อป้องกันและปราบปรามยาเสพติด รวมถึงการรณรงค์เรื่องยาเสพติดจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและประชาชนในชุมชน ประชาชน หมู่ที่ 7 บ้านวังเจริญ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้เยาวชนและคนในชุมชนได้มีภูมิคุ้มกัน และให้ความร่วมมือในการปราบปรามยาเสพติด ด้วยความเข้มแข็งของชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษยาเสพติด
- 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและภูมิคุ้มกันในเรื่องยาเสพติด ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติในชุมชนลดน้อยลง
- 3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในชุมชนในการป้องกันและร่วมกันต้านภัยยาเสพติดในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
25
กลุ่มวัยทำงาน
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงโทษของยาเสพติดที่มีต่อตนเองและผู้อื่น
- กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและภูมิคุ้มกันในเรื่องยาเสพติด การแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชนลดลง
- เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชน ที่ให้ความร่วมมือในการป้องกันและต้านภัยยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและภูมิคุ้มกันในเรื่องยาเสพติด ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติในชุมชนลดน้อยลง
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในชุมชนในการป้องกันและร่วมกันต้านภัยยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
25
กลุ่มวัยทำงาน
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษยาเสพติด (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและภูมิคุ้มกันในเรื่องยาเสพติด ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติในชุมชนลดน้อยลง (3) 3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในชุมชนในการป้องกันและร่วมกันต้านภัยยาเสพติดในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-35
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรัตติกาล จันทร์ฝาก อสม. ม.7 บ้านวังเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัตติกาล จันทร์ฝาก อสม. ม.7 บ้านวังเจริญ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-35 เลขที่ข้อตกลง 32/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันยาเสพติดได้แพร่ขยายเข้าสู่ชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรงและผลกระทบมากมาย โดยพบว่า ผู้ป่วยจิตเวชจากการเสพยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการรักษาในแต่ละปี ราวครึ่งหนึ่งเป็นผู้ที่ก่อความรุนแรงด้วย 4 ปัญหาใหญ่ จาก “ยาเสพติดในชุมชน” ได้แก่ 1) ปัญหาด้านสาธารณสุข ร่างกายของผู้ที่เสพยาเสพติดทรุดโทรม อ่อนแอ เสียสุขภาพ มีผลต่อระบบสมองและประสาท 2) ปัญหาด้านสังคม ทำให้สังคมเสื่อมโทรม เนื่องจากผู้เสพจำนวนมาก ไม่ยอมทำงาน ไม่เรียนหนังสือ และอาจเกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่มผู้เสพยากับกลุ่มคนปกติ 3) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐในการใช้จ่ายเพื่อรักษาผู้ป่วยที่ติดยาเสพติดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ทั้งยังทำให้ขาดแรงงานที่มีประสิทธิภาพ 4.) ปัญหาอาชญากรรม เนื่องจากยาเสพติดทำให้ขาดสติ เกิดปัญหาลักทรัพย์ หรืออาชญากรรมต่าง ๆ เช่น จี้จับตัวเนื่องมาจากเกิดการหลอน และการประทุษร้ายผู้อื่น ปัญหายาเสพติดในชุมชนของกลุ่มเด็กและเยาวชนมักมีสาเหตุพื้นฐานมาจาก 1) สถานภาพทางครอบครัวที่พ่อแม่หย่าร้าง 2) อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนที่ชักจูงจนเกิดความอยากรู้และอยากลอง 3) ปัญหาพฤติกรรมลอกเลียนแบบจากกลุ่มเพื่อนหรือผู้ปกครอง 4) ความเสี่ยงที่เกิดจากสื่อที่มีการแสดงตัวอย่างจนทำให้เกิดความเข้าใจผิดในหมู่เยาวชน เช่น ความเท่ ความรวย ที่ได้จากการเสพยาและการจำหน่ายยาเสพติด 5) สภาพแวดล้อมในชุมชนและระดับการศึกษาที่ทำให้เยาวชนขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติด ที่ผ่านมา การแก้ไขปัญหายาเสพติดในประเทศไทยทำได้จำกัด เนื่องจากไม่สามารถจัดการแหล่งผลิตยาเสพติดภายนอกประเทศได้ อาทิ กลุ่มว้า มูเซอ ไทยใหญ่ โกกัง และมีความพยายามลักลอบนำยาเสพติดเข้ามาในไทยอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งปัญหาการแพร่ระบาดในหมู่บ้านหรือชุมชนก็ไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง ที่สำคัญปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 24 ปี มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า “ปัญหายาเสพติด” กำลังเป็นปัญหาที่คุกคามสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นภัยต่อสุขภาพกายและจิตต่อกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน ดังนั้น การแก้ปัญหายาบ้าในกลุ่มเยาวชนจึงเป็นเรื่องสำคัญเร่งด่วน ที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันในการแก้ไข เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพในระยะยาว ปัจจุบัน สถานการณ์การแพร่ระบาดและข่าวที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในบ้านวังเจริญยังคงมีให้เห็นและติดตามกันอย่างต่อเนื่อง ประชาชน หมู่ที่ 7 บ้านวังเจริญ มีประชากร ทั้งหมด 266 คน เป็นประชากรอายุ 15-45 ปี ทั้งหมด 100 คน ซึ่งปัญหายาเสพติดมีให้เห็นและได้ฟังเสมอ โดยไม่มีแนวโน้มว่าจะลดลง แม้ว่าจะมีมาตรการและนโยบายต่าง ๆ เพื่อป้องกันและปราบปรามยาเสพติด รวมถึงการรณรงค์เรื่องยาเสพติดจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและประชาชนในชุมชน ประชาชน หมู่ที่ 7 บ้านวังเจริญ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้เยาวชนและคนในชุมชนได้มีภูมิคุ้มกัน และให้ความร่วมมือในการปราบปรามยาเสพติด ด้วยความเข้มแข็งของชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษยาเสพติด
- 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและภูมิคุ้มกันในเรื่องยาเสพติด ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติในชุมชนลดน้อยลง
- 3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในชุมชนในการป้องกันและร่วมกันต้านภัยยาเสพติดในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 25 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงโทษของยาเสพติดที่มีต่อตนเองและผู้อื่น
- กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและภูมิคุ้มกันในเรื่องยาเสพติด การแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชนลดลง
- เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชน ที่ให้ความร่วมมือในการป้องกันและต้านภัยยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษยาเสพติด ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและภูมิคุ้มกันในเรื่องยาเสพติด ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติในชุมชนลดน้อยลง ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในชุมชนในการป้องกันและร่วมกันต้านภัยยาเสพติดในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 25 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษยาเสพติด (2) 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและภูมิคุ้มกันในเรื่องยาเสพติด ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติในชุมชนลดน้อยลง (3) 3. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในชุมชนในการป้องกันและร่วมกันต้านภัยยาเสพติดในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการวังเจริญเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติดในชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-35
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรัตติกาล จันทร์ฝาก อสม. ม.7 บ้านวังเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......