กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน ห่างไกลโรคอ้วน ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางโสพิณ ควนวิไล อสม. ม.13 บ้านพรุราชา




ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน ห่างไกลโรคอ้วน

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1485-2-37 เลขที่ข้อตกลง 34/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน ห่างไกลโรคอ้วน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน ห่างไกลโรคอ้วน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน ห่างไกลโรคอ้วน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-37 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ข้อมูลในปี พ.ศ. 2563 จากสหพันธ์โรคอ้วน (World Obesity Federation) ผู้คนราว 1 พันล้านคน หรือคิดเป็น 1 ใน 7 คน กำลังเผชิญกับปัญหาโรคอ้วน สอดคล้องกับรายงาน World Health Statistics 2023 ขององค์การอนามัยโลก รายงานว่า มีผู้ใหญ่ 1.9 พันล้านคน หรือคิดเป็น 39% มีปัญหาน้ำหนักเกินและอ้วน สำหรับประเทศไทย ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข พบว่าปี พ.ศ. 2566 คนไทยมีปัญหาน้ำหนักเกินและอ้วน 48.35% ทั้งนี้ อีกกลุ่มวัยที่ไม่ควรละเลย คือ กลุ่มวัยเด็ก เพราะภาวะสุขภาพในวัยเด็กส่งผลต่อภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตได้เมื่อเป็นผู้ใหญ่ ตัวอย่างการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสาร Frontiers in Nutrition ในปี พ.ศ. 2566 คาดว่า เด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะอ้วนมีแนวโน้มที่จะเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วนถึง 5 เท่า เมื่อเทียบกันกับเด็กที่ไม่อ้วน โดยเด็กที่มีภาวะอ้วนตั้งแต่ในวัยเรียนนั้น 55% จะพัฒนาไปเป็นวัยรุ่นที่อ้วน และวัยรุ่นที่อ้วนมีโอกาสที่จะพัฒนาไปเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วนถึง 80% และมีโอกาสถึง 70 % ที่จะเป็นโรคอ้วน ตั้งแต่อายุ 30 ปี เลยทีเดียว โดยจำนวนเด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้นอย่างมาก องค์การอนามัยโลก แสดงตัวเลขความชุกในเด็กที่มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน อายุระหว่าง 5-19 ปี จากเดิมที่มีเพียง 4% ในปี พ.ศ. 2518 เป็น 18% หรือกว่า 340 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2559 สำหรับประเทศไทย รายงานจากระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ในการติดตามเฝ้าระวังภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็ก เมื่อปี พ.ศ. 2566 เปิดเผยว่า ในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี มีความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนอยู่ที่ 8.98% ในเด็กอายุระหว่าง 6-14 ปี อยู่ที่ 13.68% และในเด็กที่มีอายุ 15-18 ปี อยู่ที่ 13.72% จากการดูแลสุขภาพ หมู่ที่ 7 นพรุราชา มีประชาชนทั้งหมด 277 คน มีประชาชน กลุ่มอายุ 30-60 ปี จำนวน 131 คน และพบว่าสภาวะโรคโรคอ้วนในชุมบ้านพรุราชา มีแนวโน้มจะขยายตัวเพิ่มขึ้น จากการสำรวจสุขภาพของคนชุมนบ้านพรุราชา การตรวจร่างกายในปี 2567 พบว่าคนในชุมชนที่มีอายุ 30-60 ปี มีภาวะน้ำหนักเกินเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา จากการรายงานสุขภาพของคนในชุมชนระบุว่าเป็นมีภาวะอ้วนลงพุงเพิ่มขึ้นถือว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้เจ็บป่วยเสียชีวิตก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(Non-communicabie Diseases: NCD) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิดสูง โรคตับ โรคมะเร็ง โรคซึมเศร้า โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นต้น คนอ้วนมีโอกาส เป็นโรคเหล่านี้มากกว่าปกติ 2-3 เท่าโดยเฉพาะพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ดีสุขภาพ เช่น อาหาร Fast Food น้ำอัดลม ของทอด ของมัน ของหวาน อาหารจำพวกแป้งและการกาดออกกำลังกายอย่างเพียงพอ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยอายุ 30 - 60 ปี ให้มีค่าดัชนีมวลกายปกติ
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนวัยอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้และห่างไกลจากโรคอ้วน
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมห่างไกลจากโรคอ้วน
  4. 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการปฏิบัติ และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคอ้วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 15
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ
      1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ปฏิบัติตนได้ห่างไกลจากโรคอ้วน
      2. ผู้เข้าอบรมทราบและเลือกรับประทานอาหารและโภชนาการได้เหมาะสมห่างไกลโรคอ้วน
      3. ผู้เข้าอบรมทราบแนวทางการปฏิบัติตน ไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคอ้วน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยอายุ 30 - 60 ปี ให้มีค่าดัชนีมวลกายปกติ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ประชาชนวัยอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้และห่างไกลจากโรคอ้วน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้ประชาชนได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมห่างไกลจากโรคอ้วน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการปฏิบัติ และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคอ้วน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 15
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยอายุ 30 - 60 ปี ให้มีค่าดัชนีมวลกายปกติ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนวัยอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้และห่างไกลจากโรคอ้วน (3) 3. เพื่อให้ประชาชนได้ทราบเกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมห่างไกลจากโรคอ้วน (4) 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ทราบแนวทางการปฏิบัติ และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคอ้วน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน ห่างไกลโรคอ้วน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1485-2-37

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางโสพิณ ควนวิไล อสม. ม.13 บ้านพรุราชา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด