กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพอกเข่าเสื่อมด้วยศฯาสตร์การแพทย์แผนไทย ”
ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟูซียะห์ ลอมา




ชื่อโครงการ โครงการพอกเข่าเสื่อมด้วยศฯาสตร์การแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 6830230207 เลขที่ข้อตกลง 07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพอกเข่าเสื่อมด้วยศฯาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละไกรทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพอกเข่าเสื่อมด้วยศฯาสตร์การแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพอกเข่าเสื่อมด้วยศฯาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 6830230207 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละไกรทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรผู้สูงอายุในสังคมไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ประมาณร้อยละ ๕ ต่อปี และคาดว่าจะ เป็นสังคมสูงวัยไม่ถึง ๒๐ ปีข้างหน้านี้ จากผลสํารวจโรคที่พบบ่อย ๓๐ อันดับโรคในผู้สูงอายุซึ่งมีโรคข้อเข่าเสื่อมร่วมด้วย โรคข้อเข่าเสื่อม หมายถึง การที่กระดูกอ่อนของข้อมีการเสื่อมสภาพ ทําให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับ น้ําหนักและมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ําหล่อเลี้ยงเขาทําให้มีอาการปวด บวม แดงร้อนที่เข่า ซึ่งเป็นโรคที่มีการ เปลี่ยนแปลงการเสื่อมในกลุ่มอายุที่มีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ตําแหน่งของข้อที่มีการเสื่อม ได้แก่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลัง และข้อเท้า แต่ข้อที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อการเจ็บป่วย และต้องเข้ารับ บริการมากที่สุด คือ ข้อเข่า ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว โดยทั่วไปจะรับการรักษาด้วยยา เช่น ยาแก้ปวดลดการอักสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ยาคลายกล้ามเนื้อ ซึ่งยาดังกล่าวหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทําให้ เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น แผลในกระเพาะอาหาร ไตวาย และความดันโลหิตสูง
ตําบลไม้แก่น หมู่ ๑ ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล ไม้แก่น ที่มีประชากรผู้สูงอายุมาก โดยเฉพาะในพื้นที่หมู่ 9 บ้านไม้แก่น เป็นพื้นที่ที่มีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็กและวัยทํางาน และพื้นที่ หมู่ที่ ๒ ตามลําดับ ซึ่งข้อมูลการรับบริการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุมาด้วยอาการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบกล้ามเนื้อเช่น อาการปวดเข่า ปวดเมื่อยทั่วไปตามร่างกายเป็นต้น และส่วนใหญ่ก็จะไม่รับการรักษาด้วยยาสมุนไพร จะรับยาแผน ปัจจุบันมากกว่า
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านหมู่ที่ ๑ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบล ไม้แก่น ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการแก้ไขอาการปวดเข่าซึ่งจะนําไปสู่ข้อเข่าเสื่อม และส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพจึงนําศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาประยุกต์ใช้กับผู้ป่วย ข้อเข่าเสื่อม ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตบริบทในชุมชน จึงได้จัดทําโครงการข้อเข่าดี หลีกหนีข้อเข่าเสื่อมเพื่อบําบัดผู้ป่วยโรค เข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรใน
ท้องถิ่นนํามาทํายาพอกเข่าตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และตระหนักถึงคุณค่าในภูมิปัญญาไทยอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม
  2. ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนําสมุนไพรที่มีอยู่ใน ตัวชี้วัดความสําเร็จ ท้องถิ่นมาทํายาพอกเข่าตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และ ตระหนักถึงคุณค่าในภูมิปัญญาไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถบรรเทาอาการปวดเข่า ด้วย
    ๒. มีการนําสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม
    ตัวชี้วัด : -ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดข้อเข่าได้รับการดูแลรักษาด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนไทย ร้อยละ ๙๐ ตัวชี้วัดความสําเร็จ

     

    2 ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนําสมุนไพรที่มีอยู่ใน ตัวชี้วัดความสําเร็จ ท้องถิ่นมาทํายาพอกเข่าตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และ ตระหนักถึงคุณค่าในภูมิปัญญาไทย
    ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุสามารถนําสมุนไพรที่มีอยู่ใน ท้องถิ่นมาทำยาพอกเข่าตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และได้ตระถึงคุณค่าในภูปัญญาไทย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม (2) ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนําสมุนไพรที่มีอยู่ใน ตัวชี้วัดความสําเร็จ  ท้องถิ่นมาทํายาพอกเข่าตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และ  ตระหนักถึงคุณค่าในภูมิปัญญาไทย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพอกเข่าเสื่อมด้วยศฯาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 6830230207

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟูซียะห์ ลอมา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด