กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเยาวชนGen Z ใส่ใจสุขภาพ รู้ภัยของบุหรี่เเละบุหรี่ไฟฟ้า ”
ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรยีลัน สาเม๊าะ




ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนGen Z ใส่ใจสุขภาพ รู้ภัยของบุหรี่เเละบุหรี่ไฟฟ้า

ที่อยู่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4119-2-2 เลขที่ข้อตกลง 16/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนGen Z ใส่ใจสุขภาพ รู้ภัยของบุหรี่เเละบุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนGen Z ใส่ใจสุขภาพ รู้ภัยของบุหรี่เเละบุหรี่ไฟฟ้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนGen Z ใส่ใจสุขภาพ รู้ภัยของบุหรี่เเละบุหรี่ไฟฟ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4119-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการใช้บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าในกลุ่มเยาวชน Gen Z กลายเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสถิติปี 2567 พบว่าเยาวชนไทยที่สูบบุหรี่มีจำนวนมากถึง 353,898 คน และแนวโน้มการใช้บุหรี่ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 5.3 เท่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา การโฆษณาผ่านสื่อออนไลน์ การเข้าถึงที่ง่าย และแรงกดดันจากสังคม ส่งผลให้บุหรี่ไฟฟ้าถูกมองว่าเป็นไลฟ์สไตล์ที่ทันสมัย แม้ว่าจะมีงานวิจัยจำนวนมากยืนยันว่ามันส่งผลเสียต่อสุขภาพ ทั้งในด้านระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาท และสมองของเยาวชนที่ยังพัฒนาไม่เต็มที่ การใช้บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าไม่เพียงแต่ทำให้เยาวชนมีความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคถุงลมโป่งพอง และมะเร็งปอด แต่ยังส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมและผลการเรียน เนื่องจากสารนิโคตินในบุหรี่ไฟฟ้ามีฤทธิ์เสพติดสูง ทำให้เยาวชนมีภาวะสมาธิสั้น ความจำลดลง และมีแนวโน้มที่จะเข้าสู่พฤติกรรมเสี่ยงอื่น ๆ เช่น การใช้สารเสพติดประเภทอื่น นอกจากนี้ การแพร่ระบาดของบุหรี่ไฟฟ้าในสถานศึกษา ทำให้เกิดปัญหาทางสังคม เช่น ความรุนแรงในโรงเรียน การละเมิดกฎระเบียบ และการใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือยในการซื้อผลิตภัณฑ์เหล่านี้ โรงเรียนในฐานะสถาบันการศึกษามีบทบาทสำคัญในการสร้างความตระหนักรู้และให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าแก่เยาวชน เนื่องจากวัยรุ่นเป็นช่วงอายุที่มีความอยากรู้อยากลอง และมักได้รับอิทธิพลจากสื่อและสังคมรอบตัว หากโรงเรียนสามารถให้ข้อมูลที่ถูกต้อง เสริมสร้างทักษะในการปฏิเสธ และสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดบุหรี่ได้ ก็จะช่วยลดอัตราการสูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าในหมู่เยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน จังหวัดยะลากำลังเผชิญกับปัญหาการสูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าในกลุ่มเยาวชนอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าข้อมูลสถิติที่เฉพาะเจาะจงสำหรับปี 2567 และแนวโน้มในปี 2568 จะยังไม่มีการเผยแพร่อย่างเป็นทางการ แต่จากข้อมูลที่มีอยู่ พบว่าในปี 2564 จังหวัดยะลามีอัตราการบริโภคยาสูบอยู่ที่ร้อยละ 18.4 ของประชากร ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ในปี 2566 รัฐบาลได้เพิ่มความเข้มงวดในการปราบปรามการใช้และจำหน่ายบุหรี่ไฟฟ้า โดยเน้นการจับกุมและสร้างความตระหนักรู้ถึงอันตรายของบุหรี่ไฟฟ้าในกลุ่มเด็กและเยาวชน โครงการ "เยาวชน Gen Z ใส่ใจสุขภาพ รู้ภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า" จึงถูกจัดขึ้นโดยโรงเรียน เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจของเยาวชน ผ่านกิจกรรมที่เข้าถึงง่ายและเหมาะสมกับไลฟ์สไตล์ของ Gen Z เช่น การใช้สื่อโซเชียลมีเดีย อินโฟกราฟิก วิดีโอสั้น เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมีบทบาทในการรณรงค์และเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องไปยังเพื่อน ๆ และสังคมรอบตัว
โรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต 5 ได้เล็งเห็นอนาคตของปัญหาการสูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้น เห็นควรที่จะต้องดำเนินการป้องกัน โดยวิธีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า จึงได้จัดทำโครงการเยาวชน Gen Z ใส่ใจสุขภาพ รู้ภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าขึ้น เพื่อป้องกันหรือลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ห่างไกลจากการสูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าในชุมชนตำบลธารโต มีสุขภาพกายและใจที่ดี อีกทั้งโรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต 5 ได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่น ระดับทอง โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา 2567 และโรงเรียนยังมีการดำเนินงาน 7 มาตรการเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ทำให้มีความจำเป็นต้องเสริมสร้างความรู้ให้นักเรียนอย่างเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  3. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะในการใช้ชีวิต และสามารถเผยแพร่ความรู้ ขยายผลต่อชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 102
    กลุ่มวัยทำงาน 18
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีการเสริมสร้างสุขภาพ
      1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนรู้ทันภัยจากบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า มีความรู้ ความเข้าใจที่มากขึ้น
      2. เกิดเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันปัญหาบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าระหว่างบ้าน โรงเรียน ชุมชน และกลุ่มเพื่อนในโรงเรียน
      3. ลดปริมาณของผู้สูบบุหรี่และมาตรการในการเฝ้าระวังการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะในการใช้ชีวิต และสามารถเผยแพร่ความรู้ ขยายผลต่อชุมชนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 102
    กลุ่มวัยทำงาน 18
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่ (2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (3) เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะในการใช้ชีวิต และสามารถเผยแพร่ความรู้ ขยายผลต่อชุมชนได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยาวชนGen Z ใส่ใจสุขภาพ รู้ภัยของบุหรี่เเละบุหรี่ไฟฟ้า จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 68-L4119-2-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนูรยีลัน สาเม๊าะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด