โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 ”
ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรยีลัน สาเม๊าะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5
ที่อยู่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4119-2-3 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4119-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,147.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการ "กินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5" จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนผ่านการพัฒนาพฤติกรรมการกินอาหารที่เหมาะสมและการดูแลสุขภาพองค์รวม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการเติบโตอย่างแข็งแรงและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปัจจุบันพบว่าปัญหาทางโภชนาการ เช่น ภาวะทุพโภชนาการ การขาดสารอาหาร โรคอ้วน รวมถึงการบริโภคอาหารที่มีน้ำตาล ไขมัน และโซเดียมสูง กำลังเป็นปัญหาในกลุ่มเด็กวัยเรียน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้งทางร่างกายและสมอง รวมถึงเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจในอนาคต เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงเรียนจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยมุ่งเน้นให้ความรู้ด้านโภชนาการที่ถูกต้อง ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืช และโปรตีนที่ดีต่อสุขภาพ รวมถึงลดการบริโภคอาหารแปรรูปและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง นอกจากนี้ ยังมีการรณรงค์ให้เด็กนักเรียนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เช่น กิจกรรมสาธิตการประกอบอาหารที่มีประโยชน์ การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน และการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี
โครงการนี้จะช่วยให้เด็ก ๆ มีความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินและการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน รวมถึงกระตุ้นให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของเด็กนักเรียน ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม และสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งในการดูแลสุขภาพของประชากรรุ่นใหม่ในระยะยาว
เนื่องจากเก็บข้อมูลสถิติด้านโภชนาการในปีการศึกษา 2567 พบว่า มีนักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต 5 ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน จากจำนวนทั้งสิ้น 117 คน มีภาวะทุพโภชนาการ คือ น้ำหนักและส่วนสูงไม่สมดุลกัน อันเนื่องมาจากการนักเรียนและผู้ปกครอง ขาดความรู้เรื่องการเลือกรับประทานอาหาร หลักโภชนากร ดังนั้น ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 ให้แก่นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนจำนวน 144 คน เพื่อให้เป็นถึงความสำคัญของโภชนาการและการรับประทานอาหารที่เหมาะสมแก่เด็กนักเรียน การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีและพัฒนาทักษะการเลือกอาหารอย่างมีสติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
102
กลุ่มวัยทำงาน
42
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ผู้ปกครองและครู มีความรู้และสามารถเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ได้ด้วยตัวเอง
- สุขภาพโดยรวมของนักเรียนดีขึ้น ลดอัตราการเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการได้
- สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ทำให้ทั้งครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของโภชนาการที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
144
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
102
กลุ่มวัยทำงาน
42
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4119-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรยีลัน สาเม๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 ”
ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรยีลัน สาเม๊าะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4119-2-3 เลขที่ข้อตกลง 17/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4119-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,147.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการ "กินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5" จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนผ่านการพัฒนาพฤติกรรมการกินอาหารที่เหมาะสมและการดูแลสุขภาพองค์รวม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการเติบโตอย่างแข็งแรงและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปัจจุบันพบว่าปัญหาทางโภชนาการ เช่น ภาวะทุพโภชนาการ การขาดสารอาหาร โรคอ้วน รวมถึงการบริโภคอาหารที่มีน้ำตาล ไขมัน และโซเดียมสูง กำลังเป็นปัญหาในกลุ่มเด็กวัยเรียน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้งทางร่างกายและสมอง รวมถึงเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจในอนาคต เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงเรียนจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยมุ่งเน้นให้ความรู้ด้านโภชนาการที่ถูกต้อง ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืช และโปรตีนที่ดีต่อสุขภาพ รวมถึงลดการบริโภคอาหารแปรรูปและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง นอกจากนี้ ยังมีการรณรงค์ให้เด็กนักเรียนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เช่น กิจกรรมสาธิตการประกอบอาหารที่มีประโยชน์ การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน และการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี โครงการนี้จะช่วยให้เด็ก ๆ มีความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินและการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน รวมถึงกระตุ้นให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของเด็กนักเรียน ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม และสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งในการดูแลสุขภาพของประชากรรุ่นใหม่ในระยะยาว เนื่องจากเก็บข้อมูลสถิติด้านโภชนาการในปีการศึกษา 2567 พบว่า มีนักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองธารโต 5 ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน จากจำนวนทั้งสิ้น 117 คน มีภาวะทุพโภชนาการ คือ น้ำหนักและส่วนสูงไม่สมดุลกัน อันเนื่องมาจากการนักเรียนและผู้ปกครอง ขาดความรู้เรื่องการเลือกรับประทานอาหาร หลักโภชนากร ดังนั้น ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 ให้แก่นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนจำนวน 144 คน เพื่อให้เป็นถึงความสำคัญของโภชนาการและการรับประทานอาหารที่เหมาะสมแก่เด็กนักเรียน การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีและพัฒนาทักษะการเลือกอาหารอย่างมีสติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 102 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 42 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ผู้ปกครองและครู มีความรู้และสามารถเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ได้ด้วยตัวเอง
- สุขภาพโดยรวมของนักเรียนดีขึ้น ลดอัตราการเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการได้
- สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ทำให้ทั้งครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของโภชนาการที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 144 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 102 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 42 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการกินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาพในโรงเรียนนิคม 5 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4119-2-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรยีลัน สาเม๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......