ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ”
ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
รักษาราชการแทนผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1460-01-04 เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1460-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประชาชนส่วนใหญ่ทำอาชีพทำสวน และเกษตรกร ซึ่งเป็นอาชีพที่มีการใช้สารเคมีประเภทพ่น ฝัง ซึ่งสารเคมีเหล่านี้จะถูกผสมอยู่ในปุ๋ย ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า ซึ่งเป็นสารเคมีที่ไม่ทำให้ร่างกายเป็นอันตรายอย่างเห็นได้ชัดในระยะเวลาอันสั้น แต่จะเป็นการสะสมอยู่ในกระแสเลือดและอาจทำให้เกิดเซลล์มะเร็งได้ในอนาคต
สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นว่าแนวโน้มการนำเข้าสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสูงขึ้น ส่งผลให้อัตราป่วยของโรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่งสูงขึ้นเช่นกัน กลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มแรงงานที่สำคัญของประเทศ และยังคงมีปัญหาการเจ็บป่วยจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสารกำจัดแมลง ซึ่งอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชดังกล่าวทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย
สารเคมีที่เข้าไปสะสมจะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนจนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จนแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจเอาละอองสารเคมีที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานน้ำและอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้น ทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชนและผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้น ในส่วนของการตรวจวิเคราะห์หาสารพวกออร์กาโนฟอสเฟตหรือคาร์บาเมท จากอวัยวะต่างๆ หรือจากเลือดมักจะได้ผลไม่ดี เนื่องจากสารพิษเหล่านั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกายอย่างรวดเร็ว โดยเกิดปฏิกิริยาทางเคมีหลายอย่าง จึงนิยมใช้วิธีตรวจหาระดับของเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) ในเลือดและอวัยวะต่างๆ เป็นการยืนยันการเป็นพิษแทน เพราะสารเคมีทั้งสองกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) ซึ่งสามารถตรวจหาเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) โดยใช้กระดาษทดสอบพิเศษขององค์การเภสัชกรรม
การตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากพิษตกค้างในกระแสเลือดของสารเคมีต่างๆ จะเป็นการตรวจเพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อการมีสารเคมีในกระแสเลือดอยู่ในระดับที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาหรือไม่ ซึ่งผลของการคัดกรอวความเสี่ยงจะทำให้เกิดความตะหนัก นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมี และสามารถป้องกันตนเองในการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้ จึงเล็งเห็นความสำคัญจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีใรกระแสเลือดในประชาชนหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เพื่อให้ประชาชนและเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในบ้านพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
- ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
- ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
- ข้อที่ 2 เพื่อให้ได้รับการตรวจค้นหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
- ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ให้ความรู้
- 2.เจาะเลือดเพื่อค้นหาสารเคมี
- 1.ให้ความรู้
- 2.เจาะเลือดเพื่อค้นหาสารเคมี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หญิงวัยเจริญพันธ์ ได้รับการตรวจคัดกรองค่าความเข้มข้นเลือด และได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
ตัวชี้วัด : ประชาชน อย่างน้อยร้อยละ 70
2
ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
ตัวชี้วัด : ประชาชน อย่างน้อยร้อยละ 70
3
ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
ตัวชี้วัด : ประชาชน อย่างน้อยร้อยละ 70
4
ข้อที่ 2 เพื่อให้ได้รับการตรวจค้นหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
ตัวชี้วัด : ประชาชน อย่างน้อยร้อยละ 70
5
ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่ต่อเพื่อการรักษา ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย (2) ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย (3) ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย (4) ข้อที่ 2 เพื่อให้ได้รับการตรวจค้นหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด (5) ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้ความรู้ (2) 2.เจาะเลือดเพื่อค้นหาสารเคมี (3) 1.ให้ความรู้ (4) 2.เจาะเลือดเพื่อค้นหาสารเคมี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1460-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( รักษาราชการแทนผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ”
ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
รักษาราชการแทนผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1460-01-04 เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1460-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประชาชนส่วนใหญ่ทำอาชีพทำสวน และเกษตรกร ซึ่งเป็นอาชีพที่มีการใช้สารเคมีประเภทพ่น ฝัง ซึ่งสารเคมีเหล่านี้จะถูกผสมอยู่ในปุ๋ย ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า ซึ่งเป็นสารเคมีที่ไม่ทำให้ร่างกายเป็นอันตรายอย่างเห็นได้ชัดในระยะเวลาอันสั้น แต่จะเป็นการสะสมอยู่ในกระแสเลือดและอาจทำให้เกิดเซลล์มะเร็งได้ในอนาคต
สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นว่าแนวโน้มการนำเข้าสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสูงขึ้น ส่งผลให้อัตราป่วยของโรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่งสูงขึ้นเช่นกัน กลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่มแรงงานที่สำคัญของประเทศ และยังคงมีปัญหาการเจ็บป่วยจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสารกำจัดแมลง ซึ่งอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชดังกล่าวทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรังสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย
สารเคมีที่เข้าไปสะสมจะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนจนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จนแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจเอาละอองสารเคมีที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานน้ำและอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้น ทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชนและผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้น ในส่วนของการตรวจวิเคราะห์หาสารพวกออร์กาโนฟอสเฟตหรือคาร์บาเมท จากอวัยวะต่างๆ หรือจากเลือดมักจะได้ผลไม่ดี เนื่องจากสารพิษเหล่านั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกายอย่างรวดเร็ว โดยเกิดปฏิกิริยาทางเคมีหลายอย่าง จึงนิยมใช้วิธีตรวจหาระดับของเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) ในเลือดและอวัยวะต่างๆ เป็นการยืนยันการเป็นพิษแทน เพราะสารเคมีทั้งสองกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) ซึ่งสามารถตรวจหาเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholinesterase Enzyme) โดยใช้กระดาษทดสอบพิเศษขององค์การเภสัชกรรม
การตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากพิษตกค้างในกระแสเลือดของสารเคมีต่างๆ จะเป็นการตรวจเพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อการมีสารเคมีในกระแสเลือดอยู่ในระดับที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาหรือไม่ ซึ่งผลของการคัดกรอวความเสี่ยงจะทำให้เกิดความตะหนัก นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมี และสามารถป้องกันตนเองในการใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้ จึงเล็งเห็นความสำคัญจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีใรกระแสเลือดในประชาชนหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เพื่อให้ประชาชนและเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในบ้านพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
- ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
- ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย
- ข้อที่ 2 เพื่อให้ได้รับการตรวจค้นหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
- ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ให้ความรู้
- 2.เจาะเลือดเพื่อค้นหาสารเคมี
- 1.ให้ความรู้
- 2.เจาะเลือดเพื่อค้นหาสารเคมี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หญิงวัยเจริญพันธ์ ได้รับการตรวจคัดกรองค่าความเข้มข้นเลือด และได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย ตัวชี้วัด : ประชาชน อย่างน้อยร้อยละ 70 |
|
|||
2 | ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย ตัวชี้วัด : ประชาชน อย่างน้อยร้อยละ 70 |
|
|||
3 | ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย ตัวชี้วัด : ประชาชน อย่างน้อยร้อยละ 70 |
|
|||
4 | ข้อที่ 2 เพื่อให้ได้รับการตรวจค้นหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ตัวชี้วัด : ประชาชน อย่างน้อยร้อยละ 70 |
|
|||
5 | ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่ต่อเพื่อการรักษา ร้อยละ 100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย (2) ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย (3) ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่สามารถตกค้างและเป้นอันตราย (4) ข้อที่ 2 เพื่อให้ได้รับการตรวจค้นหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด (5) ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้ความรู้ (2) 2.เจาะเลือดเพื่อค้นหาสารเคมี (3) 1.ให้ความรู้ (4) 2.เจาะเลือดเพื่อค้นหาสารเคมี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมความรู้และการตรวจค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด ในประชาชนเขตหมู่ที่ 2 3 5 ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1460-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( รักษาราชการแทนผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......