กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการธนาคารขยะ เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคในชุมชน ประจำปี 2568 ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายวันอัดดนาล วรพิทักษ์นนท์




ชื่อโครงการ โครงการธนาคารขยะ เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคในชุมชน ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-l3057-1-4 เลขที่ข้อตกลง 8/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการธนาคารขยะ เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการธนาคารขยะ เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคในชุมชน ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการธนาคารขยะ เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคในชุมชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-l3057-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,833.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาขยะมูลฝอยในตำบลปะเสยะวอนับเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกำจัดขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะ สร้างปัญหาทั้งทางด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด และอาจก่อให้เกิดปัญหาขยะตกค้างส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ของสังคมโดยรวม และจะมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม  เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์และแมลงต่างๆ เช่น ยุง หนู แมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะ นำโรค เช่น ไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ เป็นต้น ความไม่รู้ความไม่ตระหนักในการคัดแยกขยะของประชาชน ซึ่งล้วนแต่เป็นผู้สร้างขยะทั้งสิ้น เป็นต้นเหตุของปัญหาขยะดังกล่าว ขยะ กลายเป็นปัญหาที่เพิ่มปริมาณขึ้นที่ต้องจัดการ หลายๆชุมชนต้องประสบปัญหาเรื่องที่ทิ้งขยะไม่เพียงพอ ประชาชนยังขาดความตระหนักรู้ ขาดความเข้าใจในการจัดการขยะที่เหมาะสมถูกวิธีถูกสุขลักษณะ เช่น การคัดแยกขยะต้นทาง การรีไซเคิลขยะ และการแปรสภาพขยะมูลฝอยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยยังขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดบุคลากรในการดำเนินการและขาดความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ทำให้ชุมชนมีปัญหา เรื่องความสกปรกที่เกิดจากขยะมากมายเหล่านี้ซึ่งมาจากครัวเรือน ชาวบ้านไม่มีการแยกขยะก่อนทิ้ง ทำให้มีขยะ หลายประเภทรวมอยู่ในถุงเดียวกัน ขยะเกิดหมักหมุมเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น เมื่อฝนตกลงมาทำให้น้ำฝนไหลผ่านกองขยะ ลงสู่ลำคลอง ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพและปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา ดังนั้น เพื่อการจัดการขยะอย่างเป็นระบบตั้งแต่ต้นทาง ก่อให้เกิดพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงในการหันมาลดปริมาณขยะ แยกประเภทของขยะ นำขยะที่เกิดขึ้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สามารถช่วยลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ ของประชาชนและส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ในชุมชน
      กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงจัดทำโครงการธนาคารขยะ เพื่อกำจัดแหล่งเกิดโรคติดต่อต่างๆที่มาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่สะอาดอันมีสาเหตุมาจากขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือนและ ขยะสะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่มีสาเหตุมาจากขยะ
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการ คัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้องและลดปริมาณขยะ
  3. 3.เพื่อเป็นการสร้างรูปแบบการจัดการขยะ โดยชุมชนมีส่วนร่วม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. วัสดุอุปกรณ์ในการจัดเตรียมสถานที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดจำนวนผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากขยะ
2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและปริมาณขยะในพื้นที่ลดลงชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่สะอาดมากขึ้น 3. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ สะอาด ไร้มลพิษจากขยะ 4. เกิดระบบการจัดการธนาคารขยะที่ดีและมีประสิทธิภาพ ผลที่คาดว่าจะได้รับ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่มีสาเหตุมาจากขยะ
ตัวชี้วัด : 1.ลดจำนวนผู้ป่วยจากโรคที่เกิดจากขยะ

 

2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการ คัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้องและลดปริมาณขยะ
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนได้ความรู้เกี่ยวกับประเภทขยะมูลฝอย มีการลดปริมาณขยะภายในชุมชน

 

3 3.เพื่อเป็นการสร้างรูปแบบการจัดการขยะ โดยชุมชนมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 3.เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะโดยชุมชน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่มีสาเหตุมาจากขยะ (2) 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการ คัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้องและลดปริมาณขยะ (3) 3.เพื่อเป็นการสร้างรูปแบบการจัดการขยะ โดยชุมชนมีส่วนร่วม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. วัสดุอุปกรณ์ในการจัดเตรียมสถานที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการธนาคารขยะ เพื่อสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคในชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-l3057-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวันอัดดนาล วรพิทักษ์นนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด