โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม ”
ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม
ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1460-01-06 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1460-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,673.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้ จากข้อมูลปัจจุบันที่ระบุว่าการ “ขาดการออกกําลังกาย” หรือการ “ขาดกิจกรรมทางกาย” เป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่ 4 ของการเสียชีวิตทั่วโลกนั้น ในขณะที่ “โรคอ้วน” (Obesity) สามารถนําไปสู่ผลเสียต่อสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อเกือบทุกระบบในร่างกาย หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ทําการรักษาโรคเหล่านี้ร่วมกับโรคประจําตัว จะยิ่งรุนแรงเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป การสนับสนุนให้มีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมและเพียงพอกับเด็กและบุคคลทุกเพศวัยในแต่ละวันจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะจะเป็นการกระตุ้นและพัฒนาส่งเสริมให้ร่างกาย หัวใจ ปอด หลอดเลือด กล้ามเนื้อ ข้อต่อ และระบบประสาท ได้ทํางานเพิ่มขึ้นกว่าปกติในแต่ละครั้งตามหลักการของการออกกําลังกาย ทําให้เกิดการเผาผลาญและการใช้พลังงานของร่างกายอย่างมีคุณค่าและมีคุณภาพเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจโดยตรง นอกจากนี้ ยังช่วยกระตุ้นและสร้างภูมิคุ้มกันในการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บที่เป็นอันตรายได้อย่างดี
สื่อเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือ สื่อสารต่างๆ หรือสิ่งเร้าที่อยู่รอบตัวนักเรียน เช่น เพื่อน หรือแม้แต่ตัวครูผู้สอน รวมไปถึงสภาพแวดล้อมต่างๆ ทำให้นักเรียนขาดสมาธิในการเรียน การรับฟังไปบางช่วง ส่วนมากจากการสังเกต นักเรียนจะรับฟังข้อมูล จากครูได้ไม่เกิน30นาทีหลังจากนั้นนักเรียนจะขาดสมาธิในการทำงาน หรือรับฟังสิ่งต่างๆ ทำให้เกิด อุปสรรคในการเรียนรู้และรับรู้ของนักเรียน โรคสมาธิสั้น (Attention Deficit / Hyperativity Disorder) เป็นโรคทางจิตเวชที่พบบ่อย ร้อยละ 3-10 ของเด็กวัยเรียน อายุ 5-12 ปี โดยพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง 3-4 เท่า (วินัดดา ปิยะศิลป์, 2550) การรักษาเด็กสมาธิสั้นที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด คือ การผสมผสานการรักษาหลายๆ ด้าน ดังต่อไปนี้เข้าด้วยกัน เช่น การกินยาควบคู่ไปกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการ ช่วยเหลือทางด้านจิตใจสำหรับเด็ก และการช่วยเหลือทางด้านการเรียน เป็นต้น เนื่องจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นวิธีช่วยเหลือเด็กสมาธิสั้นที่มีความสำคัญวิธีหนึ่ง ซึ่งช่วยให้เด็กเรียนรู้การควบคุมตัวเองเพื่อหลีกเลี่ยงผลเสียที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม (ชาญวิทย์พรนภดล, 2556) ปัญหาเกี่ยวกับสมาธิของตัวผู้เรียนที่มักจะหลุดลอย ล่องลอยออกจากครู และบทเรียน พูดคุยกับเพื่อน และกระทำสิ่งอื่น ๆ ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเรียน เป็นปัญหาในการสอนสำหรับครูเป็นอย่างมาก
สมาธิบำบัด SKT คือการทำสมาธิที่เกิดจากการผสานศาสนศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาร่างกายให้สามารถเยียวยาตัวเองได้โดยมีหลักการสำคัญคือ ปรับการทำงานของร่างกายทั้งระบบให้อยู่ในภาวะปกติ โดยนำองค์ความรู้ทั้งเรื่องสมาธิ โยคะ ชี่กง การออกกำลังกายแบบยืดเหยียด การปฏิบัติสมาธิด้วยเทคนิคการหายใจ และการควบคุมประสาทสัมผัสทางตาและหู ผสมผสานกัน จนพัฒนาเป็นรูปแบบสมาธิบำบัดแบบใหม่ขึ้น 8 เทคนิค หรือเรียกว่า SKT 1-8 ศาสตราจารย์ ดร.สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี ใช้เวลาวิจัยและทดลองเยียวยาผู้ป่วยมานานกว่า 20 ปี จนได้ผลสรุปออกมาเป็นเทคนิค 8 เทคนิค ทำให้ผู้ฝึกมีสมาธิจดจ่ออยู่กับการเรียน พร้อมๆกับการออกกำลังกายแบบยืดเหยียด สามารถทำควบคู่ไปกับการรักษาโรคได้หลากหลาย เป็นการดูแลและเยียวยาตนเองโดยไม่ใช้งบประมาณ และสามารถทำได้ทุกที่ เวลา เพศ วัย ศาสนา ทดสอบแล้วว่าไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม เล็งเห็นความสำคัญของ การสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียนของนักเรียน โดยมีวัตถุประสงค์ ให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ มีแกนนำและมีกิจกรรมการออกกำลังกายประสานจิต SKT ในโรงเรียน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงและมีสมาธิในการเรียนหนังสือเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.นักเรียนมีความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
- 2.นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
- 3.โรงเรียนมีแกนนำการออกกำลังกายบริหารจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ขั้นเตรียมการ
- 2. ขั้นดำเนินการ
- 1.1 จัดทำรายละเอียดโครงการ 1.2 ติดต่อเชิญวิทยากร 1.3 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.4 แจ้งประชาสัมพันธ์โครงการ 1.5 จัดทำเอกสารประกอบการประชุมอบรม
- 2.1 ให้ความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.2 ฝึกทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.3 สร้างแกนนำการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.4 ถอดบทเร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
59
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีความตระหนักในการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและมีสมาธิในการเรียน ตลอดจนสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และมีกิจกรรมในโรงเรียนเป็นประจำ ส่งผลให้นักเรียนมีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.นักเรียนมีความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
2
2.นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
ตัวชี้วัด : 2.นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
3
3.โรงเรียนมีแกนนำการออกกำลังกายบริหารจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
ตัวชี้วัด : 3.โรงเรียนมีแกนนำการออกกำลังกายบริหารจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
59
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
59
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.นักเรียนมีความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน (2) 2.นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน (3) 3.โรงเรียนมีแกนนำการออกกำลังกายบริหารจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ขั้นเตรียมการ (2) 2. ขั้นดำเนินการ (3) 1.1 จัดทำรายละเอียดโครงการ 1.2 ติดต่อเชิญวิทยากร 1.3 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.4 แจ้งประชาสัมพันธ์โครงการ 1.5 จัดทำเอกสารประกอบการประชุมอบรม (4) 2.1 ให้ความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.2 ฝึกทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.3 สร้างแกนนำการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.4 ถอดบทเร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1460-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม ”
ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1460-01-06 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1460-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,673.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้ จากข้อมูลปัจจุบันที่ระบุว่าการ “ขาดการออกกําลังกาย” หรือการ “ขาดกิจกรรมทางกาย” เป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่ 4 ของการเสียชีวิตทั่วโลกนั้น ในขณะที่ “โรคอ้วน” (Obesity) สามารถนําไปสู่ผลเสียต่อสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อเกือบทุกระบบในร่างกาย หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ทําการรักษาโรคเหล่านี้ร่วมกับโรคประจําตัว จะยิ่งรุนแรงเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป การสนับสนุนให้มีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมและเพียงพอกับเด็กและบุคคลทุกเพศวัยในแต่ละวันจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะจะเป็นการกระตุ้นและพัฒนาส่งเสริมให้ร่างกาย หัวใจ ปอด หลอดเลือด กล้ามเนื้อ ข้อต่อ และระบบประสาท ได้ทํางานเพิ่มขึ้นกว่าปกติในแต่ละครั้งตามหลักการของการออกกําลังกาย ทําให้เกิดการเผาผลาญและการใช้พลังงานของร่างกายอย่างมีคุณค่าและมีคุณภาพเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจโดยตรง นอกจากนี้ ยังช่วยกระตุ้นและสร้างภูมิคุ้มกันในการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บที่เป็นอันตรายได้อย่างดี
สื่อเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือ สื่อสารต่างๆ หรือสิ่งเร้าที่อยู่รอบตัวนักเรียน เช่น เพื่อน หรือแม้แต่ตัวครูผู้สอน รวมไปถึงสภาพแวดล้อมต่างๆ ทำให้นักเรียนขาดสมาธิในการเรียน การรับฟังไปบางช่วง ส่วนมากจากการสังเกต นักเรียนจะรับฟังข้อมูล จากครูได้ไม่เกิน30นาทีหลังจากนั้นนักเรียนจะขาดสมาธิในการทำงาน หรือรับฟังสิ่งต่างๆ ทำให้เกิด อุปสรรคในการเรียนรู้และรับรู้ของนักเรียน โรคสมาธิสั้น (Attention Deficit / Hyperativity Disorder) เป็นโรคทางจิตเวชที่พบบ่อย ร้อยละ 3-10 ของเด็กวัยเรียน อายุ 5-12 ปี โดยพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง 3-4 เท่า (วินัดดา ปิยะศิลป์, 2550) การรักษาเด็กสมาธิสั้นที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด คือ การผสมผสานการรักษาหลายๆ ด้าน ดังต่อไปนี้เข้าด้วยกัน เช่น การกินยาควบคู่ไปกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการ ช่วยเหลือทางด้านจิตใจสำหรับเด็ก และการช่วยเหลือทางด้านการเรียน เป็นต้น เนื่องจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นวิธีช่วยเหลือเด็กสมาธิสั้นที่มีความสำคัญวิธีหนึ่ง ซึ่งช่วยให้เด็กเรียนรู้การควบคุมตัวเองเพื่อหลีกเลี่ยงผลเสียที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม (ชาญวิทย์พรนภดล, 2556) ปัญหาเกี่ยวกับสมาธิของตัวผู้เรียนที่มักจะหลุดลอย ล่องลอยออกจากครู และบทเรียน พูดคุยกับเพื่อน และกระทำสิ่งอื่น ๆ ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเรียน เป็นปัญหาในการสอนสำหรับครูเป็นอย่างมาก
สมาธิบำบัด SKT คือการทำสมาธิที่เกิดจากการผสานศาสนศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาร่างกายให้สามารถเยียวยาตัวเองได้โดยมีหลักการสำคัญคือ ปรับการทำงานของร่างกายทั้งระบบให้อยู่ในภาวะปกติ โดยนำองค์ความรู้ทั้งเรื่องสมาธิ โยคะ ชี่กง การออกกำลังกายแบบยืดเหยียด การปฏิบัติสมาธิด้วยเทคนิคการหายใจ และการควบคุมประสาทสัมผัสทางตาและหู ผสมผสานกัน จนพัฒนาเป็นรูปแบบสมาธิบำบัดแบบใหม่ขึ้น 8 เทคนิค หรือเรียกว่า SKT 1-8 ศาสตราจารย์ ดร.สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี ใช้เวลาวิจัยและทดลองเยียวยาผู้ป่วยมานานกว่า 20 ปี จนได้ผลสรุปออกมาเป็นเทคนิค 8 เทคนิค ทำให้ผู้ฝึกมีสมาธิจดจ่ออยู่กับการเรียน พร้อมๆกับการออกกำลังกายแบบยืดเหยียด สามารถทำควบคู่ไปกับการรักษาโรคได้หลากหลาย เป็นการดูแลและเยียวยาตนเองโดยไม่ใช้งบประมาณ และสามารถทำได้ทุกที่ เวลา เพศ วัย ศาสนา ทดสอบแล้วว่าไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม เล็งเห็นความสำคัญของ การสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียนของนักเรียน โดยมีวัตถุประสงค์ ให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ มีแกนนำและมีกิจกรรมการออกกำลังกายประสานจิต SKT ในโรงเรียน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงและมีสมาธิในการเรียนหนังสือเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.นักเรียนมีความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
- 2.นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
- 3.โรงเรียนมีแกนนำการออกกำลังกายบริหารจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ขั้นเตรียมการ
- 2. ขั้นดำเนินการ
- 1.1 จัดทำรายละเอียดโครงการ 1.2 ติดต่อเชิญวิทยากร 1.3 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.4 แจ้งประชาสัมพันธ์โครงการ 1.5 จัดทำเอกสารประกอบการประชุมอบรม
- 2.1 ให้ความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.2 ฝึกทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.3 สร้างแกนนำการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.4 ถอดบทเร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 59 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีความตระหนักในการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและมีสมาธิในการเรียน ตลอดจนสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และมีกิจกรรมในโรงเรียนเป็นประจำ ส่งผลให้นักเรียนมีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.นักเรียนมีความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 |
|
|||
2 | 2.นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน ตัวชี้วัด : 2.นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 |
|
|||
3 | 3.โรงเรียนมีแกนนำการออกกำลังกายบริหารจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน ตัวชี้วัด : 3.โรงเรียนมีแกนนำการออกกำลังกายบริหารจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 59 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 59 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.นักเรียนมีความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน (2) 2.นักเรียนมีทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน (3) 3.โรงเรียนมีแกนนำการออกกำลังกายบริหารจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ขั้นเตรียมการ (2) 2. ขั้นดำเนินการ (3) 1.1 จัดทำรายละเอียดโครงการ 1.2 ติดต่อเชิญวิทยากร 1.3 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.4 แจ้งประชาสัมพันธ์โครงการ 1.5 จัดทำเอกสารประกอบการประชุมอบรม (4) 2.1 ให้ความรู้การออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.2 ฝึกทักษะการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.3 สร้างแกนนำการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในการเรียน 2.4 ถอดบทเร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการออกกำลังกายประสานจิต SKT เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและสมาธิในนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเคี่ยม จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1460-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......