กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ ”
ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายปริญญา มะรียา




ชื่อโครงการ โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4156-00-00 เลขที่ข้อตกลง 13

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4156-00-00 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยและพื้นที่จังหวัดยะลามีความเสี่ยงต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติและภัยที่เกิดจากมนุษย์ เช่น น้ำท่วม ดินถล่ม พายุ ไฟไหม้ และเหตุการณ์ความไม่สงบ ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชน ทั้งในด้านร่างกายและจิตใจภัยพิบัติธรรมชาติ เช่น น้ำท่วมและดินถล่ม ส่งผลให้ประชาชนต้องอพยพและอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราว ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาสุขภาพ เช่น โรคระบาด การขาดแคลนน้ำสะอาด และภาวะโภชนาการที่ไม่เพียงพอภัยจากมนุษย์และเหตุการณ์ความไม่สงบ มีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง เช่น เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งอาจมีอาการเครียด ซึมเศร้า หรือ PTSD (Post-Traumatic Stress Disorder)     และการจัดการการป้องกันและดูแลสุขภาพในช่วงภัยพิบัติต้องอาศัยหลักการดังต่อไปนี้:   1.การเตรียมความพร้อมล่วงหน้า (Preparedness) – มีแผนรองรับและฝึกอบรมบุคลากรและอาสาสมัครเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ   2. การตอบสนองฉุกเฉิน (Emergency Response) – ให้การช่วยเหลือด้านสุขภาพและปัจจัยพื้นฐานในช่วงเกิดภัยพิบัติ   3. การฟื้นฟูหลังภัยพิบัติ (Recovery & Rehabilitation) – ฟื้นฟูสุขภาพกายและจิตใจของประชาชน รวมถึงการสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพในชุมชน   4. การบูรณาการภาคีเครือข่าย (Multi-Sectoral Collaboration) – ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐ เอกชน องค์กรศาสนา และชุมชน เพื่อให้การดูแลสุขภาพเป็นไปอย่างครอบคลุม   5. เหตุผลของโครงการ ลดความสูญเสียด้านสุขภาพและชีวิต – การเตรียมความพร้อมและการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบสามารถลดอัตราการเสียชีวิตและการเจ็บป่วยจากภัยพิบัติ ป้องกันโรคระบาดและปัญหาสุขภาพจิต – ภัยพิบัติมักนำไปสู่การแพร่ระบาดของโรคติดต่อและความเครียดทางจิตใจ โครงการนี้จะช่วยลดผลกระทบเหล่านั้น เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน – การมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายจะทำให้เกิดความเข้มแข็งและความพร้อมในการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน สนับสนุนนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ – โครงการนี้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐในการสร้างระบบสุขภาพที่สามารถรองรับภัยพิบัติและเหตุฉุกเฉินได้ บทสรุป โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติเป็นแนวทางสำคัญในการลดผลกระทบด้านสุขภาพที่เกิดจากภัยพิบัติ ทั้งทางกายและจิตใจ โดยเน้นการเตรียมความพร้อม การตอบสนองอย่างรวดเร็ว และการฟื้นฟูสุขภาพในระยะยาว เพื่อสร้างความมั่นคงทางสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่เสี่ยง       หน่วยกู้ชีพอิควะห์รามัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงจัดโครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อจัดการระบบการป้องกันสุขภาพก่อนและระหว่างเกิดภัยพิบัติ
  2. 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้พร้อมรับมือสถานการณ์ภัยพิบัติ
  3. 3. เพื่อเสริมสร้างการดูแลสุขภาพกายและใจของผู้ประสบภัย รวมถึงการฟื้นฟูหลังเหตุการณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ
  2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายการจัดการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กระตุ้นจัดการระบบการป้องกันสุขภาพก่อนและระหว่างเกิดภัยพิบัติขั้นพื้นฐาน     2. ผู้เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้พร้อมรับมือสถานการณ์ภัยพิบัติได้
            อย่างถูกวิธีก่อนหน่วยงานอื่นๆจะเข้ามาสนับสนุนต่อไป     3. สามารถเสริมสร้างการดูแลสุขภาพกายและใจของผู้ประสบภัย รวมถึงการฟื้นฟูหลังเหตุการณ์ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อจัดการระบบการป้องกันสุขภาพก่อนและระหว่างเกิดภัยพิบัติ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 ของประชาชนในพื้นที่เป้าหมายที่มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในช่วงภัยพิบัติ

 

2 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้พร้อมรับมือสถานการณ์ภัยพิบัติ
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 85 ของอาสาสมัครที่ผ่านการอบรมและสามารถปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

 

3 3. เพื่อเสริมสร้างการดูแลสุขภาพกายและใจของผู้ประสบภัย รวมถึงการฟื้นฟูหลังเหตุการณ์
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 85 ของผู้ประสบภัยในศูนย์พักพิงที่ได้รับการตรวจสุขภาพและบริการพื้นฐาน (ไม่น้อยกว่า 95%)

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อจัดการระบบการป้องกันสุขภาพก่อนและระหว่างเกิดภัยพิบัติ (2) 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้พร้อมรับมือสถานการณ์ภัยพิบัติ (3) 3. เพื่อเสริมสร้างการดูแลสุขภาพกายและใจของผู้ประสบภัย รวมถึงการฟื้นฟูหลังเหตุการณ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ (2) อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายการจัดการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการการป้องกันและการดูแลสุขภาพช่วงภัยพิบัติ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4156-00-00

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปริญญา มะรียา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด