โครงการอบรมหมอชาวบ้านป้องกันโรคภัยให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมหมอชาวบ้านป้องกันโรคภัยให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
รหัสโครงการ | 68-L3368-3 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลตะแพน |
วันที่อนุมัติ | 8 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 19 กรกฎาคม 2568 - 19 กรกฎาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 19,580.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสุวรรณา ทองคณารักษ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ได้ริเริ่มโครงการพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อดูแลรักษาให้ราษฎณทุกคนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงซึ่งพระองค์ไม่เพียงก่อตั้งโครงการเพื่อคอยช่วยเหลือราษฎรเท่านั้น แต่ยังทรงมีพระราชดำริก่อตั้งโครงการที่สามารถทำให้ประชาชนพึ่งพิงตนเองอย่างยั่งยืนในด้านสาธารณสุข เช่นการจัดตั้งโครงการอบรมหอชาวบ้านในพระราชประสงค์ เพราะทรงเห็นว่าความเจ็บป่วยของราษฎรเกิดจากการไม่ได้รับการรักษาพยาบาลอย่างถูกต้องและการบริโภคอาหารไม่ถูกลุกษณะ รวมถึงบางหมู่บ้านเป็นพื้นที่ห่างไกลจากสถานบริการ โดยโครงการนี้จะให้ผู้ปกครองทำหน้าที่ดูแลบุตรหลานของท่านให้มารับการฝึกอบรมเป็นหมอชาวบา้น ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นและการรรักษาโรคอย่างง่าน เพื่อให้สามารถช่วยเหลือบุตรหลานของตนได้
กองการศึกษาฯ องค์การบริหารส่วนตำบลตะแพน เห็นความสำคัญ เห็นความสำคัญของโครงการดังกล่าว และคำนึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นแก่เด็กศุนย์พัฒยาเด็กเล็กที่จะได้รับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยผู้ปกครองที่ผ่านการอบรมและไม่เกิดขึ้นแก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะได้รับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยผู้ปกครองที่ผ่านการอบรมและไม่จำเป็นต้องเดินทางไปรับบริการจากสถานพยาบาลที่ห่างไกล จึงได้จัดทำโครงการอบรมหมอชาวบ้านป้องกันโรคภัยให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพ คัดกรองโรคและรักษา พยาบาลเบื้องต้นให้พึ่งตนเองทางสุขภาพได้อย่างยั่งยืนในอนาคต
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาความรู้ทักษะผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพเด็ก คัดกรองโรคและรักษา พยาบาลเบื้องต้น ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเด็ก คัดกรองโรคและรักษา พยาบาลเบื้องต้น |
0.00 | 0.00 |
2 | เพื่อให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กได้รับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ร้อยละ 80 เด็กศูนย์พัฒนาเด็กได้รับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างสะดวกรวดเร็ว |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 19,580.00 | 0 | 0.00 | |
19 ก.ค. 68 | จัดอบรมผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเป็นหมอชาวบ้านดูแลสุขภาพคัดกรองโรคและปฐมพยาบาลเบื้องต้น | 0 | 0.00 | - | ||
19 ก.ค. 68 | จัดอบรมผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเป็นหมอชาวบ้านดูแลสุขภาพคัดกรองโรคและปฐมพยาบาลเบื้องต้น | 0 | 19,580.00 | - |
- ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเด็กและส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ80 2.เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ร้อยละ 80
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มิ.ย. 2568 13:50 น.