กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอห่างไกลบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ ”
ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำมัดฟาเดล โตะลู




ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอห่างไกลบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4156-00-00 เลขที่ข้อตกลง 14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอห่างไกลบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอห่างไกลบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอห่างไกลบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4156-00-00 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน ปัญหาการสูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยาเสพติด กำลังแพร่ระบาดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลเกะรอสถานการณ์ความเสี่ยงในเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอ เกี่ยวกับบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ       จากการทำงานด้านการป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่ พบว่าปัญหาการใช้บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ในกลุ่มเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอยังคงเป็นประเด็นที่น่ากังวล โดยมีปัจจัยหลายประการที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมและสุขภาวะของเยาวชนในพื้นที่ จากสถานการณ์บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าในเยาวชนตำบลเกะรอ -อัตราการใช้บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าในเยาวชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นชาย อายุ 13-18 ปี ซึ่งเริ่มมี การ-ทดลองสูบบุหรี่จากแรงกดดันทางสังคมและความอยากรู้อยากลอง -บุหรี่ไฟฟ้าเข้าถึงง่ายขึ้น จากการซื้อขายผ่านช่องทางออนไลน์ และมีความเข้าใจผิดว่าเป็นอุปกรณ์ที่ปลอดภัยกว่าบุหรี่ธรรมดา ปัจจัยกระตุ้นการใช้บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ได้แก่ -การเห็นตัวอย่างจากผู้ใหญ่ในครอบครัวและชุมชน -อิทธิพลของเพื่อนฝูงและกลุ่มสังคม -การตลาดที่ทำให้บุหรี่ไฟฟ้าดูน่าสนใจผ่านกลิ่นและรสชาติที่หลากหลาย ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่ส่งผลต่อเด็กและเยาวชน -การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีรายงานว่า เยาวชนบางส่วนเริ่มทดลองดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตั้งแต่อายุยังน้อย  โดยได้รับจากเพื่อนหรือญาติเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มักถูกนำมาใช้ในงานสังสรรค์ งานประเพณี หรือกิจกรรมทางสังคม ทำให้เยาวชนเห็นเป็นเรื่องปกติ -การใช้สารเสพติดอื่นๆแม้ว่าสถานการณ์ในตำบลเกะรอจะยังไม่รุนแรง แต่ก็พบว่า บางพื้นที่มีเยาวชนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เช่น ยาแก้ไอผสมสารเสพติด และกัญชา ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาทางสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงอื่นๆ - พฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพการใช้เวลากับอุปกรณ์ดิจิทัลมากเกินไป ส่งผลให้เยาวชนมีพฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Lifestyle) ขาดกิจกรรมทางกายการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง ซึ่งอาจเพิ่มความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ปัจจัยที่เอื้อต่อการลดความเสี่ยง   แม้ว่าจะมีปัจจัยเสี่ยงอยู่มาก แต่ก็ยังมีปัจจัยบวกที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา ได้แก่ ชุมชนมีความเข้มแข็ง โดยมีผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น และเครือข่ายเยาวชนที่สามารถร่วมมือกันผลักดันการป้องกันปัจจัยเสี่ยงมีโครงการและกิจกรรมเชิงป้องกัน เช่น กิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชน การรณรงค์เรื่องบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ เยาวชนเริ่มตระหนักรู้มากขึ้น จากการรณรงค์และการให้ความรู้ผ่านโรงเรียน ศูนย์การศึกษาประจำมัสยิด (ตาดีกา) และช่องทางสื่อสารออนไลน์ แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลเกะรอปลอดภัยจากบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ควรดำเนินมาตรการดังนี้ -ส่งเสริมการให้ความรู้แบบเข้าถึงเยาวชน โดยใช้สื่อที่เหมาะสมกับวัย เช่น วิดีโอ การ์ตูน แอนิเมชัน หรืออินโฟ
กราฟิก -สร้างพื้นที่สร้างสรรค์ให้เยาวชน เช่น กิจกรรมกีฬา ศิลปะ และกิจกรรมทางศาสนา เพื่อให้เยาวชนมีทางเลือกใน การใช้เวลาว่าง -เสริมสร้างบทบาทของสภาเด็กและเยาวชน ให้เป็นแกนนำในการรณรงค์ และเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่ -ผลักดันมาตรการควบคุมบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน เช่น การทำให้พื้นที่สาธารณะและ งานบุญประเพณีปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ -สร้างความร่วมมือกับโรงเรียนและศูนย์ตาดีกา ในการอบรมให้ความรู้และสร้างต้นแบบเยาวชนปลอดบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ
  2. ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ให้เด็กและเยาวชนหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและปัจจัยเสี่ยง
  3. สนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทางเลือกที่ดีและสร้างสังคมที่ปลอดภัย
  4. สร้างเครือข่ายเยาวชนต้นแบบ ที่เป็นผู้นำในการรณรงค์และขับเคลื่อนการป้องกันปัจจัยเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอห่างไกลบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ
  2. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยที่เสี่ยงต่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • เด็กและเยาวชนในตำบลเกะรอมีความรู้และตระหนักถึงโทษของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ
  • ลดจำนวนเยาวชนที่ทดลองหรือใช้บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • เยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น และมีทางเลือกที่สร้างสรรค์ในการใช้เวลาว่าง
  • มีเครือข่ายเยาวชนต้นแบบที่สามารถเป็นผู้นำในการรณรงค์ป้องกันปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ
ตัวชี้วัด :

 

2 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ให้เด็กและเยาวชนหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและปัจจัยเสี่ยง
ตัวชี้วัด :

 

3 สนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทางเลือกที่ดีและสร้างสังคมที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด :

 

4 สร้างเครือข่ายเยาวชนต้นแบบ ที่เป็นผู้นำในการรณรงค์และขับเคลื่อนการป้องกันปัจจัยเสี่ยง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ (2) ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ให้เด็กและเยาวชนหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและปัจจัยเสี่ยง (3) สนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทางเลือกที่ดีและสร้างสังคมที่ปลอดภัย (4) สร้างเครือข่ายเยาวชนต้นแบบ ที่เป็นผู้นำในการรณรงค์และขับเคลื่อนการป้องกันปัจจัยเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอห่างไกลบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ (2) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยที่เสี่ยงต่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กและเยาวชนตำบลเกะรอห่างไกลบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4156-00-00

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮำมัดฟาเดล โตะลู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด