กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชีวิตดี วิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs ”
ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวซาลือมา มะยูนุ




ชื่อโครงการ โครงการชีวิตดี วิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs

ที่อยู่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2537-02-04 เลขที่ข้อตกลง 24/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชีวิตดี วิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชีวิตดี วิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชีวิตดี วิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2537-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,570.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD หมายถึงโรคที่รักษาไม่หาย การรักษาเป็นเพียงการพยุงไม่ให้มีการสูญเสียการทำงานของร่างกายมากขึ้น โรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีหลายประเภท เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจวาย โรคไตวาย โรคข้อเสื่อม เป็นต้น อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ ประเภทที่ 1 คือโรคที่ดำเนินไปอย่างช้า ๆ มีทางบำบัดรักษาให้หายได้ แต่ต้องใช้เวลานานหลายเดือนหรือเป็นปี เช่น วัณโรค โรคเรื้อน โรคเท้าช้าง เป็นต้น ประเภทที่ 2 คือโรคที่ดำเนินไปอย่างช้า ๆ ชนิดที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ แต่การรักษาแบบประคับประคองก็สามารถทำให้อาการของโรคทุเลา เช่น โรคเบาหวาน โรคสะเก็ดเงิน เป็นต้น ประเภทที่ 3 คือโรคที่กลายหรือสืบเนื่องมาจากโรคเฉียบพลันที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที เช่น โรคอัมพฤกษ์ที่เกิดจากอุบัติเหตุ เมื่อไขสันหลังถูกกดทับแต่ไม่ถึงกับฉีกขาด หากรักษาทันท่วงทีก็หายได้ ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องก็จะเป็นโรคอัมพฤกษ์ตลอดไป โรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่ออันเป็นผลมาจากการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และพฤติกรรมการดําเนินชีวิตที่ผ่านมาส่งผลให้ประสบปัญหาโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ทําให้เกิดอาการเจ็บป่วย ต้องสูญเสียงบประมาณในการรักษาพยาบาลเป็นจํานวนมากจากสถานการณ์ของโรค พบว่าสาเหตุการตายส่วนใหญ่ ร้อยละ 60เกิดจากโรคเรื้อรัง เช่นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ มะเร็ง ปีละ 97,000 คน ขณะที่คนไทยต้องกินยาสูงปีละ47,000ล้านเม็ด สาเหตุหลักของโรคเรื้อรังส่วนใหญ่ ร้อยละ 90เกิดจากพฤติกรรม อาทิกินอาหารไม่เหมาะสม ขาดการออกกําลังกาย น้ำหนักตัวเกิน สูบบุหรี่ ดื่มเหล้ากินอาหารไม่เหมาะสม เช่น หวาน มัน เค็ม (ผลการวิจัยจากกรมอนามัย ปี 2565) ศูนย์บริการสาธารณสุข เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิที่เน้นการสร้างเสริม ป้องกันการเกิดโรคลดพฤติกรรมเสี่ยง ในกลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไป โดยการให้ความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักในการเว้นปัจจัยเสี่ยง เช่น สูบบุหรี่ ความเครียด อาหารเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้เรื่องการดูแลตนเอง การใช้ยาถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้อง ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน (DM) และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวมในโรงพยาบาล และ ในโรงพยาบาลส่งแสริมสุขภาพตำบลมูโนะ อีกทั้งยังมีกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองในปีที่ผ่าน ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื่องรังเป็นจำนวนหลายคน จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และกลุ่มเสี่ยง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งแสริมสุขภาพตำบลมูโนะ มีความรู้เรื่องการดูแลตนเองการใช้ยาที่ไม่ถูกถูกต้อง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดี ในเรื่องของการควบคุม 3 อ 2ส. ชมรม อสม. ต.มูโนะ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญต่อผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ จึงจัดทำโครงการชีวิตดี วิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคติดต่อเรื้อรัง
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน กลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทัศนคติ ที่ดีมีทางเลือกและแนวทางปฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
  3. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมและป้องกันโรคด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโดยใช้กระบวนการกลุ่มเปลี่ยนเรียนรู้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งคณะทำงานโครงการ
  2. กิจกรรมคัดกรองตัวแทนแกนนำสุขภาพแต่ละหมู่บ้านเพื่อเข้าอบรม
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตัวแทนแกนนำสุขภาพ
  4. ติดตามผลความก้าวหน้าในการเข้าอบรมที่ผ่านมา
  5. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.ประชาชน กลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทัศนคติที่ดีมีทางเลือกและแนวทางปฏิบัติในกาดูแลสุขภาพตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคติดต่อเรื่อรังได้
0.00 80.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน กลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทัศนคติ ที่ดีมีทางเลือกและแนวทางปฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
ตัวชี้วัด : สามารถพัฒนาศักยภาพประชาชน กลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทัศนคติ ที่ดีมีทางเลือกและแนวทางปฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
0.00 100.00

 

3 เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมและป้องกันโรคด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโดยใช้กระบวนการกลุ่มเปลี่ยนเรียนรู้
ตัวชี้วัด : สามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมและป้องกันโรคด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโดยใช้กระบวนการกลุ่มเปลี่ยนเรียนรู้
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน กลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทัศนคติ ที่ดีมีทางเลือกและแนวทางปฏิบัติในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม (3) เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมและป้องกันโรคด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโดยใช้กระบวนการกลุ่มเปลี่ยนเรียนรู้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งคณะทำงานโครงการ (2) กิจกรรมคัดกรองตัวแทนแกนนำสุขภาพแต่ละหมู่บ้านเพื่อเข้าอบรม (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตัวแทนแกนนำสุขภาพ (4) ติดตามผลความก้าวหน้าในการเข้าอบรมที่ผ่านมา (5) ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชีวิตดี วิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2537-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซาลือมา มะยูนุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด