โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจำลอง อินนุรักษ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3306-02-048 เลขที่ข้อตกลง 030/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3306-02-048 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ข้อมูลจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่าโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มจัด รวมถึงความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้อายุขัยของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า ๖๐ ปี โดยจากสถิติพบว่า คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ ๓00,000 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยคิดเป็นร้อยละ ๗๓ ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลกสาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ ๖๓ ของสาเหตุการตายของประชากรโลก
เครือข่ายสุขภาพกงหรา พบยอดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ปี ๒๕๖4 – ๒๕๖7 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด ๑,๖๕๒, ๑,๘๐๗, 1,909 และ 2,141 คน ตามลำดับ ปี ๒๕๖4 – ๒๕๖7 พบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน ๑๑๘, ๑๕๕, 182 และ 232 คน ตามลำดับ ปี ๒๕๖4 – ๒๕๖7 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๓,๐๔๐, ๓,๒๘๘, 3,532 และ 4,005 คน ตามลำดับ ปี ๒๕๖4 – ๒๕๖7 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน ๑๙๑, ๒๕๔, 356 และ 473 คน ตามลำดับ และพบผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงมากขึ้น ในผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตไม่ได้ หรือขาดยาไม่มารับการรักษาตามนัดการได้รับการประเมินภาวะแทรกซ้อนต่างๆในเบื้องต้น จึงมีความสำคัญมาก ปัจจุบันแม้อัตราการเจาะเลือดประจำปีของผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจครอบคลุมมากขึ้น แต่การเข้าถึงการวินิจฉัยภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา เท้า และหลอดเลือดหัวใจ สมอง ยังไม่ครอบคลุมเท่าที่ควร โดยเฉพาะภาวะแทรกซ้อนทางตาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน เนื่องจากขาดเครื่องมือในการตรวจจอประสาทตา เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาตามระยะเวลาปีละ ๑ ครั้งเบาหวานเข้าจอประสาทตา เป็นภาวะแทรกซ้อนทางตาที่สำคัญของโรคเบาหวาน และเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดตามัวไปจนถึงตาบอดการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่างๆ อย่างสม่ำเสมอทั้งในผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงจะช่วยรักษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ดังนั้น กลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลกงหราได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน อำเภอกงหรา ปี ๒๕๖7ขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยให้เกิดความฉลาดรู้จนสามารถดูแลตนเองได้พัฒนาระบบการดูแล เพื่อให้สอดคล้องกับองค์ความรู้ปัจจุบัน ซึ่งจะนำไปสู่การลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง และผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ตามเกณฑ์ ครอบคลุมทุกพื้นที่ค้นหาผู้ป่วยที่เกิด
ภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ และได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง และส่งต่อทันท่วงทีส่งเสริมการดูแลตนเองและญาติของผู้ป่วย แบบองค์รวม โดยชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี และความยั่งยืนต่อไปในชุมชนอีกทั้งพัฒนาระบบติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ติดตามผู้ป่วยที่ควบคุมโรคไม่ได้ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อการเข้าถึงของซึ่งจะนำไปสู่การลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง4.4 ทั้งนี้เด็กที่เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจะมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำมีทักษะ การเอาชีวิตรอดในน้ำ และมีทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำมากกว่าเด็กที่ไม่ได้เรียนถึง 7.4 เท่า 20.7 เท่า และ 2.7 เท่า ตามลำดับ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้
- 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถดูแลตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 รู้ทัน เตือนภัย ชะลอไตเสื่อม โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการชะลอไตเสื่อมและสาธิตการปรุงเมนูอาหารเพื่อชะลอไตเสื่อมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิก NCD
- กิจกรรม 2 ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg)พร้อมทำ SMBP
- รู้ทัน เตือนภัย ชะลอไตเสื่อม โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการชะลอไตเสื่อมและสาธิตการปรุงเมนูอาหารเพื่อชะลอไตเสื่อมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิก NCD
- ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg)พร้อมทำ SMBP
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่เจ็บป่วยด้วยภาวะแทรกซ้อนที่
รุนแรง
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตระหนักในการดูแลตนเองและได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง
- เหมาะสม และชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้
ตัวชี้วัด : . ร้อยละ 80 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้
2
2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถดูแลตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้ดี
ร้อยละ ๔๐ และ ร้อยละ ๗๐ ตามลำดับ
2. ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปีตามมาตรฐาน
ร้อยละ ๙๐
3. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่มีผลตรวจผิดปกติ ได้รับการรักษาและส่งต่อตามมาตรฐาน
ร้อยละ 90
4. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงกลุ่ม Uncontrol ได้รับการติดตามต่อเนื่องร้อยละ90
5. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต (GFR
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถดูแลตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 รู้ทัน เตือนภัย ชะลอไตเสื่อม โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการชะลอไตเสื่อมและสาธิตการปรุงเมนูอาหารเพื่อชะลอไตเสื่อมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิก NCD (2) กิจกรรม 2 ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg)พร้อมทำ SMBP (3) รู้ทัน เตือนภัย ชะลอไตเสื่อม โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการชะลอไตเสื่อมและสาธิตการปรุงเมนูอาหารเพื่อชะลอไตเสื่อมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิก NCD (4) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg)พร้อมทำ SMBP
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3306-02-048
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจำลอง อินนุรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจำลอง อินนุรักษ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3306-02-048 เลขที่ข้อตกลง 030/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3306-02-048 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ข้อมูลจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่าโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มจัด รวมถึงความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้ายได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้อายุขัยของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า ๖๐ ปี โดยจากสถิติพบว่า คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ ๓00,000 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยคิดเป็นร้อยละ ๗๓ ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลกสาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ ๖๓ ของสาเหตุการตายของประชากรโลก
เครือข่ายสุขภาพกงหรา พบยอดจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ปี ๒๕๖4 – ๒๕๖7 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด ๑,๖๕๒, ๑,๘๐๗, 1,909 และ 2,141 คน ตามลำดับ ปี ๒๕๖4 – ๒๕๖7 พบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน ๑๑๘, ๑๕๕, 182 และ 232 คน ตามลำดับ ปี ๒๕๖4 – ๒๕๖7 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด ๓,๐๔๐, ๓,๒๘๘, 3,532 และ 4,005 คน ตามลำดับ ปี ๒๕๖4 – ๒๕๖7 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน ๑๙๑, ๒๕๔, 356 และ 473 คน ตามลำดับ และพบผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงมากขึ้น ในผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตไม่ได้ หรือขาดยาไม่มารับการรักษาตามนัดการได้รับการประเมินภาวะแทรกซ้อนต่างๆในเบื้องต้น จึงมีความสำคัญมาก ปัจจุบันแม้อัตราการเจาะเลือดประจำปีของผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจครอบคลุมมากขึ้น แต่การเข้าถึงการวินิจฉัยภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา เท้า และหลอดเลือดหัวใจ สมอง ยังไม่ครอบคลุมเท่าที่ควร โดยเฉพาะภาวะแทรกซ้อนทางตาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน เนื่องจากขาดเครื่องมือในการตรวจจอประสาทตา เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตาตามระยะเวลาปีละ ๑ ครั้งเบาหวานเข้าจอประสาทตา เป็นภาวะแทรกซ้อนทางตาที่สำคัญของโรคเบาหวาน และเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดตามัวไปจนถึงตาบอดการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่างๆ อย่างสม่ำเสมอทั้งในผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงจะช่วยรักษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ดังนั้น กลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลกงหราได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน อำเภอกงหรา ปี ๒๕๖7ขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยให้เกิดความฉลาดรู้จนสามารถดูแลตนเองได้พัฒนาระบบการดูแล เพื่อให้สอดคล้องกับองค์ความรู้ปัจจุบัน ซึ่งจะนำไปสู่การลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง และผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ตามเกณฑ์ ครอบคลุมทุกพื้นที่ค้นหาผู้ป่วยที่เกิด
ภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ และได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง และส่งต่อทันท่วงทีส่งเสริมการดูแลตนเองและญาติของผู้ป่วย แบบองค์รวม โดยชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี และความยั่งยืนต่อไปในชุมชนอีกทั้งพัฒนาระบบติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ติดตามผู้ป่วยที่ควบคุมโรคไม่ได้ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อการเข้าถึงของซึ่งจะนำไปสู่การลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง4.4 ทั้งนี้เด็กที่เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจะมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำมีทักษะ การเอาชีวิตรอดในน้ำ และมีทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำมากกว่าเด็กที่ไม่ได้เรียนถึง 7.4 เท่า 20.7 เท่า และ 2.7 เท่า ตามลำดับ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้
- 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถดูแลตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 รู้ทัน เตือนภัย ชะลอไตเสื่อม โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการชะลอไตเสื่อมและสาธิตการปรุงเมนูอาหารเพื่อชะลอไตเสื่อมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิก NCD
- กิจกรรม 2 ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg)พร้อมทำ SMBP
- รู้ทัน เตือนภัย ชะลอไตเสื่อม โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการชะลอไตเสื่อมและสาธิตการปรุงเมนูอาหารเพื่อชะลอไตเสื่อมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิก NCD
- ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg)พร้อมทำ SMBP
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่เจ็บป่วยด้วยภาวะแทรกซ้อนที่ รุนแรง
- ผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตระหนักในการดูแลตนเองและได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง
- เหมาะสม และชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ ตัวชี้วัด : . ร้อยละ 80 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถดูแลตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้ ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด/ความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ ๔๐ และ ร้อยละ ๗๐ ตามลำดับ 2. ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปีตามมาตรฐาน ร้อยละ ๙๐ 3. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่มีผลตรวจผิดปกติ ได้รับการรักษาและส่งต่อตามมาตรฐาน ร้อยละ 90 4. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงกลุ่ม Uncontrol ได้รับการติดตามต่อเนื่องร้อยละ90 5. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต (GFR |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่อง โรค การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน จนสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถดูแลตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 รู้ทัน เตือนภัย ชะลอไตเสื่อม โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการชะลอไตเสื่อมและสาธิตการปรุงเมนูอาหารเพื่อชะลอไตเสื่อมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิก NCD (2) กิจกรรม 2 ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg)พร้อมทำ SMBP (3) รู้ทัน เตือนภัย ชะลอไตเสื่อม โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการชะลอไตเสื่อมและสาธิตการปรุงเมนูอาหารเพื่อชะลอไตเสื่อมแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิก NCD (4) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ( BP≥ 140/90 mmHg)พร้อมทำ SMBP
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รู้จักดูแลตนเอง ชะลอภาวะแทรกซ้อน ปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3306-02-048
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจำลอง อินนุรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......