โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอโนชา เลาหวิริยานนท์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 33
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ช่วงอายุ 0–72 เดือน หรือวัยปฐมวัย เป็นช่วงเวลาทองของการพัฒนาร่างกาย สมอง และจิตใจของเด็กอย่างเต็มที่ การได้รับสารอาหารที่เพียงพอและเหมาะสมตามช่วงวัย จะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมวัย มีพัฒนาการครบถ้วน และมีภูมิคุ้มกันโรคที่แข็งแรง ในทางตรงกันข้าม หากเด็กไม่ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ จะส่งผลให้เกิดปัญหาทางโภชนาการทั้งในด้านการขาดสารอาหาร (เช่น น้ำหนักน้อย เตี้ยแคระ) และภาวะโภชนาการเกิน (เช่น โรคอ้วนในเด็ก) ซึ่งจะส่งผลเสียต่อสุขภาพและพัฒนาการในระยะยาว รวมถึงเพิ่มความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ข้อมูลจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า เด็กปฐมวัยจำนวนไม่น้อยในประเทศไทยยังประสบปัญหาโภชนาการผิดปกติ โดยเฉพาะในชุมชนที่มีข้อจำกัดด้านเศรษฐกิจ การเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพ และความรู้ของผู้ปกครองเกี่ยวกับการเลี้ยงดูที่ถูกต้อง นอกจากนี้ การให้อาหารตามใจเด็ก การใช้อาหารเป็นเครื่องมือในการปลอบโยน รวมถึงการขาดกิจกรรมทางกาย ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม จากปัญหาดังกล่าว หน่วยงานด้านสาธารณสุข ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย ตลอดจนโรงเรียนอนุบาล จึงมีบทบาทสำคัญในการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดี ด้วยการให้ความรู้ คัดกรองภาวะโภชนาการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็ก และให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันและลดปัญหาภาวะโภชนาการที่อาจเกิดขึ้น โครงการนี้จึงมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการกินที่เหมาะสมตั้งแต่วัยแรกเริ่ม เสริมสร้างสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจของเด็ก รวมถึงสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล ในการเลือกอาหาร ปรุงอาหาร และเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกวิธีตามหลักโภชนาการ
จาการประเมินผลเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก 5 หมู่บ้าน พบว่าเด็กอายุ 0-72 เดือน จำนวน 1,084 ราย ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ 1,013 ราย พบเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 30 ราย น้ำหนักค่อนข้างน้อย 47 ราย น้ำหนักตามเกณฑ์ 913 ราย น้ำหนักค่อนข้างมาก 6 ราย และน้ำหนักมาก 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.96, 4.64, 90.22, 0.59 และ 1.68 ตามลำดับ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการและการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ0–72 เดือน ประจำปี 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการสมวัย
- 2. เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กตามหลักโภชนาการที่เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0 - 72 เดือน จำนวน 100 คน
- กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ และยังไม่เข้าสู่วัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 เด็ก 0 - 72 เดือน มีภาวะโภชนาการตามวัย
2 ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมและประเมินภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการมีน้ำหนักและส่วนสูงเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
0.00
2
2. เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กตามหลักโภชนาการที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
130
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการสมวัย (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กตามหลักโภชนาการที่เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0 - 72 เดือน จำนวน 100 คน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ และยังไม่เข้าสู่วัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอโนชา เลาหวิริยานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอโนชา เลาหวิริยานนท์
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 33
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ช่วงอายุ 0–72 เดือน หรือวัยปฐมวัย เป็นช่วงเวลาทองของการพัฒนาร่างกาย สมอง และจิตใจของเด็กอย่างเต็มที่ การได้รับสารอาหารที่เพียงพอและเหมาะสมตามช่วงวัย จะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมวัย มีพัฒนาการครบถ้วน และมีภูมิคุ้มกันโรคที่แข็งแรง ในทางตรงกันข้าม หากเด็กไม่ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ จะส่งผลให้เกิดปัญหาทางโภชนาการทั้งในด้านการขาดสารอาหาร (เช่น น้ำหนักน้อย เตี้ยแคระ) และภาวะโภชนาการเกิน (เช่น โรคอ้วนในเด็ก) ซึ่งจะส่งผลเสียต่อสุขภาพและพัฒนาการในระยะยาว รวมถึงเพิ่มความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ข้อมูลจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า เด็กปฐมวัยจำนวนไม่น้อยในประเทศไทยยังประสบปัญหาโภชนาการผิดปกติ โดยเฉพาะในชุมชนที่มีข้อจำกัดด้านเศรษฐกิจ การเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพ และความรู้ของผู้ปกครองเกี่ยวกับการเลี้ยงดูที่ถูกต้อง นอกจากนี้ การให้อาหารตามใจเด็ก การใช้อาหารเป็นเครื่องมือในการปลอบโยน รวมถึงการขาดกิจกรรมทางกาย ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม จากปัญหาดังกล่าว หน่วยงานด้านสาธารณสุข ศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย ตลอดจนโรงเรียนอนุบาล จึงมีบทบาทสำคัญในการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดี ด้วยการให้ความรู้ คัดกรองภาวะโภชนาการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็ก และให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันและลดปัญหาภาวะโภชนาการที่อาจเกิดขึ้น โครงการนี้จึงมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการกินที่เหมาะสมตั้งแต่วัยแรกเริ่ม เสริมสร้างสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจของเด็ก รวมถึงสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล ในการเลือกอาหาร ปรุงอาหาร และเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกวิธีตามหลักโภชนาการ
จาการประเมินผลเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก 5 หมู่บ้าน พบว่าเด็กอายุ 0-72 เดือน จำนวน 1,084 ราย ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ 1,013 ราย พบเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 30 ราย น้ำหนักค่อนข้างน้อย 47 ราย น้ำหนักตามเกณฑ์ 913 ราย น้ำหนักค่อนข้างมาก 6 ราย และน้ำหนักมาก 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.96, 4.64, 90.22, 0.59 และ 1.68 ตามลำดับ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการและการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ0–72 เดือน ประจำปี 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการสมวัย
- 2. เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กตามหลักโภชนาการที่เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0 - 72 เดือน จำนวน 100 คน
- กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ และยังไม่เข้าสู่วัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 เด็ก 0 - 72 เดือน มีภาวะโภชนาการตามวัย 2 ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมและประเมินภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการสมวัย ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการมีน้ำหนักและส่วนสูงเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กตามหลักโภชนาการที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : 2. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 130 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการสมวัย (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กตามหลักโภชนาการที่เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0 - 72 เดือน จำนวน 100 คน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ และยังไม่เข้าสู่วัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0–72 เดือน ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอโนชา เลาหวิริยานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......