โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี ”
ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาฏนภางค์ คล้ายนิมิตร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี
ที่อยู่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 58-L4139-02-19 เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 58-L4139-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจางเป็นความผิดปกติทางระบบเลือดที่ส่งผลให้การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลง เกิดจาก
ตั้งครรภ์ สาเหตุสำคัญขอของภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ คือ การขาดสารอาหารจากธาตุเหล็กและกรดโฟลิก
(ชลธิชา ดานา, 2560) ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกช้อนของมารดาและทารก เช่น
มารดาเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด ทารกเสียงต่อคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักต่ำหต่ำกว่า 2,500
กรัม หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรง จะมีโอกาสเสียงต่อการตกเลือดในระหว่างคลอด และมี
โอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง พัฒนาการไม่สมบูรณ์
และภาวะตายในครรภ์ ฯลฯ จากรายงานของงาน
อนามัยแม่และเด็ก พบว่าสาเหตุการตายของมารดา อันดับหนึ่ง คือ ภาวะตกเลือดหลังคลอด ซึ่งปัญหาดังกล่าว
เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศที่กำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศแถบเอเชียได้ พบได้มากสุดถึง
ร้อยละ 65 (WHO, 2019: Online) ในประเทศไทย ผลสำรวจภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2561 -
2563 พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นในปี พ.ศ. 2561-2562 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 16.06 และ 16.43
ตามลำดับ (HDC,2563) กระหรวงสาธารณสุขจึงได้กำหนดให้มีการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งตั้งครรภ์ทุก
รายให้ยาบำรุงเสริมธาตุเหล็ก และให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การดูแลและการส่งเสริมสุขภาพในหญิง
ตั้งครรภ์ ทำให้ผลสำรวจภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งตั้งครรภ์ พ.ศ.2563 ลดลง เป็นร้อยละ 15.15 อย่างไรก็ตาม
แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 กำหนดเป้าหมายให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจาก
การขาดธาตุเหล็กไม่เกินร้อยละ 10
ภาวะโลหิตจางยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศที่กำลังพัฒนา สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิด
ภาวะโลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก
เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการ
สังเคราะห์ฮีโมโกบินซึ่งทำหน้าที่จับกับออกชิเจนและส่งให้ทุกเซลในร่างกาย หญิงมีครรภ์ถ้าชาชาดธาตุเหล็กทำให้
กำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และมีผลผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ โรคโลหิตจางจาก
การชาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ
ซึ่งได้ระบุไว้ในแผนงานอาหารและ
โภชนาการแห่งชาติมาตั้งแต่ฉบับแรก กระทรวงสาธาธารณสุข มีความพยายามที่จะดำเนินการควบคุบคุมป้องกันมา
ตลอดโดยจัดตั้งระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียน
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำนตำบลยุโป ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ยุโป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้เห็นความสำคัญของภาวะโลหิตจางในกลุ่มเด็กนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการ
แก้ไขปัญหาภาวะขีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี เพื่อเป็นให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะซีด การป้องกัน และผลกระทบ
จาภาวะโลหิตจาง รวมถึงการค้นหาและการจ่ายบำรุงโลหิต เพื่อเป็นการลดภาวะเสี่ยงในระหว่างการตั้งครรภ์
การคลอด และหลังคลอด ในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด
- เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับการตรวจเลือดเพื่อค้นหาภาวะซีด
- เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับประทานยาบำรุงโลหิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะซีด
2.หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการเจาะเลือดออกเพื่อคัดกรองภาวะซีด
3.หญิงวัยเจริญพันธ์มีภาวะซีดได้รับการติดตามจ่าย เพื่อป้องกันภาวะซีด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด และผลกระทบต่อสุขภาพร้อยละ 90
2
เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับการตรวจเลือดเพื่อค้นหาภาวะซีด
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับการตรวจเลือดเพื่อค้นหาภาวะซีด ร้อยละ 90
3
เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับประทานยาบำรุงโลหิต
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับประทานยาบำรุงโลหิตร้อยละ 90
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด (2) เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับการตรวจเลือดเพื่อค้นหาภาวะซีด (3) เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับประทานยาบำรุงโลหิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 58-L4139-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนาฏนภางค์ คล้ายนิมิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี ”
ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาฏนภางค์ คล้ายนิมิตร
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 58-L4139-02-19 เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 58-L4139-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจางเป็นความผิดปกติทางระบบเลือดที่ส่งผลให้การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลง เกิดจาก ตั้งครรภ์ สาเหตุสำคัญขอของภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ คือ การขาดสารอาหารจากธาตุเหล็กและกรดโฟลิก (ชลธิชา ดานา, 2560) ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกช้อนของมารดาและทารก เช่น มารดาเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด ทารกเสียงต่อคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักต่ำหต่ำกว่า 2,500 กรัม หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรง จะมีโอกาสเสียงต่อการตกเลือดในระหว่างคลอด และมี โอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง พัฒนาการไม่สมบูรณ์ และภาวะตายในครรภ์ ฯลฯ จากรายงานของงาน อนามัยแม่และเด็ก พบว่าสาเหตุการตายของมารดา อันดับหนึ่ง คือ ภาวะตกเลือดหลังคลอด ซึ่งปัญหาดังกล่าว เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศที่กำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศแถบเอเชียได้ พบได้มากสุดถึง ร้อยละ 65 (WHO, 2019: Online) ในประเทศไทย ผลสำรวจภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2561 - 2563 พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นในปี พ.ศ. 2561-2562 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 16.06 และ 16.43 ตามลำดับ (HDC,2563) กระหรวงสาธารณสุขจึงได้กำหนดให้มีการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งตั้งครรภ์ทุก รายให้ยาบำรุงเสริมธาตุเหล็ก และให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การดูแลและการส่งเสริมสุขภาพในหญิง ตั้งครรภ์ ทำให้ผลสำรวจภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งตั้งครรภ์ พ.ศ.2563 ลดลง เป็นร้อยละ 15.15 อย่างไรก็ตาม แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 กำหนดเป้าหมายให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจาก การขาดธาตุเหล็กไม่เกินร้อยละ 10 ภาวะโลหิตจางยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศที่กำลังพัฒนา สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิด ภาวะโลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการ สังเคราะห์ฮีโมโกบินซึ่งทำหน้าที่จับกับออกชิเจนและส่งให้ทุกเซลในร่างกาย หญิงมีครรภ์ถ้าชาชาดธาตุเหล็กทำให้ กำเนิดทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และมีผลผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ โรคโลหิตจางจาก การชาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ ซึ่งได้ระบุไว้ในแผนงานอาหารและ โภชนาการแห่งชาติมาตั้งแต่ฉบับแรก กระทรวงสาธาธารณสุข มีความพยายามที่จะดำเนินการควบคุบคุมป้องกันมา ตลอดโดยจัดตั้งระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียน ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำนตำบลยุโป ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ยุโป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้เห็นความสำคัญของภาวะโลหิตจางในกลุ่มเด็กนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการ แก้ไขปัญหาภาวะขีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี เพื่อเป็นให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะซีด การป้องกัน และผลกระทบ จาภาวะโลหิตจาง รวมถึงการค้นหาและการจ่ายบำรุงโลหิต เพื่อเป็นการลดภาวะเสี่ยงในระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด ในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด
- เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับการตรวจเลือดเพื่อค้นหาภาวะซีด
- เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับประทานยาบำรุงโลหิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะซีด 2.หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการเจาะเลือดออกเพื่อคัดกรองภาวะซีด 3.หญิงวัยเจริญพันธ์มีภาวะซีดได้รับการติดตามจ่าย เพื่อป้องกันภาวะซีด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด และผลกระทบต่อสุขภาพร้อยละ 90 |
|
|||
2 | เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับการตรวจเลือดเพื่อค้นหาภาวะซีด ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับการตรวจเลือดเพื่อค้นหาภาวะซีด ร้อยละ 90 |
|
|||
3 | เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับประทานยาบำรุงโลหิต ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับประทานยาบำรุงโลหิตร้อยละ 90 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด (2) เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับการตรวจเลือดเพื่อค้นหาภาวะซีด (3) เด็กนักเรียนหญิงอายุ 6 -14 ปี ได้รับประทานยาบำรุงโลหิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปี จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 58-L4139-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนาฏนภางค์ คล้ายนิมิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......