กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก Smart Mom to Smart Kids ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายมูฮาหมัดโยฮัน วารัม




ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก Smart Mom to Smart Kids

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68–L3057-1-6 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก Smart Mom to Smart Kids จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก Smart Mom to Smart Kids



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก Smart Mom to Smart Kids " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68–L3057-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,410.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพเด็กไทยการพัฒนาคุณภาพเด็กไทยต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และการคลอด/หลังคลอด อย่างมีประสิทธิภาพ ถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของมารดาและทารก เพราะหากหญิงตั้งครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการตั้งครรภ์ได้ เช่น ภาวะโลหิตจาง เบาหวาน โรคธาลัสซีเมีย เป็นต้น งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากรซึ่งเริ่มต้นตั้งแต่การดูแลครรภ์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน และมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งสุขภาวะทางกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การเกิดและเติบโตอย่างมีคุณภาพ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย แก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมการแก้ไขปัญหาอย่างมีคุณภาพ ปัจจุบันข้อมูลการดำเนินงานด้านสตรี ดำเนินการแก้ไขเช่นพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ การเยี่ยมหลังคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปัญหาภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรและการเติบโตผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต
จากผลการดำเนินงาน งานอนามัยแม่และเด็กในปีงบประมาณ 2567 (ไตรมาส1และ2) ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านบาเลาะพบว่า 1) อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (ไม่เกินร้อยละ 14) ร้อยละ 16.67 ตามลำดับ 2) อัตราของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (ไม่เกินร้อยละ 7) ปีงบประมาณ 2567 จำนวน 6 ราย ร้อยละ 15.38 3) อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ จำนวนเป้าหมายทั้งหมด 45 ราย ร้อยละ 77.78 4) อัตราหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (ร้อยละ 75) ร้อยละ จำนวนเป้าหมาย 38 ราย ร้อยละ 82.61 และ พบว่าอัตราวัยรุ่นตั้งครรภ์ ร้อยละ 5.76 และพบว่าสถานการณ์ปัจจุบันพบว่ามารดาไม่สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่อย่างเดียวตั้งแรกเกิดจนถึงอายุ 6 เดือน และหญิงตั้งครรภ์ที่อายุมากกว่า 30 ปี พบว่ามีภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์สูง เช่น ภาวะโลหิตจาง ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ มีดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์ มีพฤติกรรมการบริโภค น้ำหวาน แป้ง เช่น ชาเย็น โรตี เป็นต้น เป็นพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ซึ่งภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ส่งผลให้เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนดสูง เจ็บครรภ์คลอดนานการคลอดโดยใช้อุปกรณ์ช่วยคลอด เสี่ยงต่อการผ่าตัดคลอด ภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม และหญิงตั้งครรภ์บางรายเป็นกลุ่มวัยรุ่นยังไม่พร้อมด้านจิตใจสำหรับการเป็นแม่ เมื่อไม่พร้อมในการเป็นแม่จึงฝากบุตรไว้กับญาติหรือผู้ดูแลเด็ก โดยการให้กินนมผสม ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจตามมา นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้าน เศรษฐกิจและสังคมอีกด้วยคือการต้องหยุดทำงาน การคลอดบุตร และการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเหล่านี้ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทั้งแม่และบุตรที่เกิดมา ผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ ทั้งกาย จิต การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ครอบครัวและสังคมไทยในภาพรวม ซึ่งก็ยังเป็นปัญหาที่เชื่อมโยงและส่งผลต่อสุขภาพแม่และเด็ก ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรและการเติบโตผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต จะเห็นได้ว่าการดูแลกลุ่มเป้าหมายทั้งหญิงตั้งครรภ์ยังพบข้อกำกัดหลายด้านเช่น ความไม่ครอบคลุมการติดตามรายบุคคล การเชื่อมโยงในการดูแลร่วมกับเครีอข่าย อสม. การแก้ไขควรเพิ่มศักยภาพหญิงตั้งครรภ์ในการดูแลตัวเองที่ถูกต้องมากขึ้น
ดังนั้นจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาเลาะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ จึงมีแนวคิดในการปรับปรุงการให้บริการในงานอนามัยแม่และเด็ก เน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อให้แม่ลูกปลอดภัย เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก Smart Mom to Smart Kids เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงบริการ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อน 12 สัปดาห์
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้ทารกหลังคลอดมีน้ำหนักเกิน 2,500 กรัม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านบาเลาะ ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ระหว่างการตั้งครรภ์ หลังคลอด ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
    2. ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม และได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
    3. หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตร         การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการเลี้ยงดูบุตรอย่างถูกต้อง
    4. เครือข่ายในชุมชนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1 เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อน 12 สัปดาห์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

     

    2 ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์

     

    3 ข้อที่ 3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

     

    4 ข้อที่ 4 เพื่อให้ทารกหลังคลอดมีน้ำหนักเกิน 2,500 กรัม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ทารกแรกคลอดน้ำหนักเกิน 2,500 กรัม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อน 12 สัปดาห์ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์ (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ทารกหลังคลอดมีน้ำหนักเกิน 2,500 กรัม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก Smart Mom to Smart Kids จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68–L3057-1-6

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมูฮาหมัดโยฮัน วารัม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด