โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568 ”
ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัซยะห์ เจะยามา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68 - L3017 - 01 - 01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68 - L3017 - 01 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชน ให้มีการเร่งรีบแข่งขันกับเวลาเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ เคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บด้วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งกำลังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมโรคเบาหวาน นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกช้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง การรักษาโรคเบาหวาน โดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรครวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการ และการออกกำลังกายที่ถูกต้องพร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกช้อนได้ และสามารถลดการเกิดโรคเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยงได้ ตำบลปูยุดมีประชากรทั้งหมด จำนวน 7,818 คน มีประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่ต้องได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน 2,584 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน 2,317 คน คิดเป็นร้อยละ 89.67 พบว่ามีกลุ่มเสียงจำนวน 252 คน คิดเป็นร้อยละ 10.88กลุ่มสงสัยป่วย 35 คน คิดเป็นร้อยละ 1.51 และมีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ในปี 2568 จำนวน 24 ราย คิดเป็น 306.98 ต่อแสนประชากร ซึ่งสาเหตุหลักสำคัญเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องได้แก่ การบริโภคไม่เหมาะสมทั้งในส่วนของการรับประทานอาหารในกลุ่มที่เป็นข้าว แป้ง ที่ให้น้ำตาลสูง การบริโภคผักและผลไม้น้อย บริโภคอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มมากไป สูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก การออกกำลังกายไม่เพียงพอ และการมีอารมณ์ความเครียด เป็นต้น รวมถึงในบริบทพื้นที่ตำบลปูยุด ประชาชนนิยมรับประทานอาหาร กลุ่มข้าว แป้ง และแกงกะทิ เป็นส่วนใหญ่
จากสถานการณ์ดังกล่าว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในประชาชนที่นี่ภาวะเสี่ยงจึงมีความจำเป็นต้องเร่งดำเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยง ป่วยด้วยโรคเบาหวาน และควรกำเนินการอย่างต่อเนื่องสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานตำบลปูยุด ปี ๒๕๖8 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คืนข้อมูลให้กับกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน และอสม.พี่เลี้ยงประจำหมู่
- ครั้งที่ ๒ ตรวจสุขภาพเบื้องตัน ได้แก่ วัดความดันโลหิต/BMM/วัดรอบเอว
- ครั้งที่ ๓ ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ วัดความดันโลหิต/BMI/วัดรอบเอว
- ครั้งที่ ๔ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและอสม.พี่เลี้ยงประจำหมู่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่มเลี่ยงโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่ทำให้เกิดโรคและเบาหวาน
๒. กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้
๓. อัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คืนข้อมูลให้กับกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน และอสม.พี่เลี้ยงประจำหมู่ (2) ครั้งที่ ๒ ตรวจสุขภาพเบื้องตัน ได้แก่ วัดความดันโลหิต/BMM/วัดรอบเอว (3) ครั้งที่ ๓ ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ วัดความดันโลหิต/BMI/วัดรอบเอว (4) ครั้งที่ ๔ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและอสม.พี่เลี้ยงประจำหมู่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68 - L3017 - 01 - 01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอัซยะห์ เจะยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568 ”
ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัซยะห์ เจะยามา
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68 - L3017 - 01 - 01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68 - L3017 - 01 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชน ให้มีการเร่งรีบแข่งขันกับเวลาเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ เคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บด้วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งกำลังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมโรคเบาหวาน นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกช้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง การรักษาโรคเบาหวาน โดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรครวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการ และการออกกำลังกายที่ถูกต้องพร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกช้อนได้ และสามารถลดการเกิดโรคเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยงได้ ตำบลปูยุดมีประชากรทั้งหมด จำนวน 7,818 คน มีประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่ต้องได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน 2,584 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน 2,317 คน คิดเป็นร้อยละ 89.67 พบว่ามีกลุ่มเสียงจำนวน 252 คน คิดเป็นร้อยละ 10.88กลุ่มสงสัยป่วย 35 คน คิดเป็นร้อยละ 1.51 และมีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ในปี 2568 จำนวน 24 ราย คิดเป็น 306.98 ต่อแสนประชากร ซึ่งสาเหตุหลักสำคัญเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องได้แก่ การบริโภคไม่เหมาะสมทั้งในส่วนของการรับประทานอาหารในกลุ่มที่เป็นข้าว แป้ง ที่ให้น้ำตาลสูง การบริโภคผักและผลไม้น้อย บริโภคอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มมากไป สูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก การออกกำลังกายไม่เพียงพอ และการมีอารมณ์ความเครียด เป็นต้น รวมถึงในบริบทพื้นที่ตำบลปูยุด ประชาชนนิยมรับประทานอาหาร กลุ่มข้าว แป้ง และแกงกะทิ เป็นส่วนใหญ่ จากสถานการณ์ดังกล่าว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในประชาชนที่นี่ภาวะเสี่ยงจึงมีความจำเป็นต้องเร่งดำเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยง ป่วยด้วยโรคเบาหวาน และควรกำเนินการอย่างต่อเนื่องสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานตำบลปูยุด ปี ๒๕๖8 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คืนข้อมูลให้กับกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน และอสม.พี่เลี้ยงประจำหมู่
- ครั้งที่ ๒ ตรวจสุขภาพเบื้องตัน ได้แก่ วัดความดันโลหิต/BMM/วัดรอบเอว
- ครั้งที่ ๓ ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ วัดความดันโลหิต/BMI/วัดรอบเอว
- ครั้งที่ ๔ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและอสม.พี่เลี้ยงประจำหมู่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่มเลี่ยงโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่ทำให้เกิดโรคและเบาหวาน ๒. กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้ ๓. อัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คืนข้อมูลให้กับกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน และอสม.พี่เลี้ยงประจำหมู่ (2) ครั้งที่ ๒ ตรวจสุขภาพเบื้องตัน ได้แก่ วัดความดันโลหิต/BMM/วัดรอบเอว (3) ครั้งที่ ๓ ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ วัดความดันโลหิต/BMI/วัดรอบเอว (4) ครั้งที่ ๔ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและอสม.พี่เลี้ยงประจำหมู่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานสู่การมีสุขภาวะที่ดี ตำบลปูยุด ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68 - L3017 - 01 - 01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอัซยะห์ เจะยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......