โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568 ”
ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวแวบีเดาะ เจะอุบง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68 - L3017 - 03 - 04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68 - L3017 - 03 - 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่นำไปสู่ภาระที่มากขึ้นทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ส่งผลให้อัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ความต้องการมาตรการเร่งด่วนในการแก้ปัญหา ให้ความสำคัญต่อการคัดกรอง ดูแลรักษา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและฟื้นฟูสุขภาพเชิงรุก ที่มีคุณภาพและครอบคลุมประชากรทั้งในระดับบุคคลและชุมชน จากสถานการณ์การระบาดของโรคหัวใจและหลอดเลือดในภาพรวมของประเทศจากสถิติสาธารณสุข ปี 2566 และ2567 พบว่าเป็นสาเหตุการตายลำดับที่3 และที่4และมีสาเหตุการตายเท่ากับ 56.2และ52.6ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ โดยมีภาวะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ
ผลการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 จำนวน 2,532 คน โดยจำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยว่าจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มปกติ จำนวน 1,980 คน คิดเป็นร้อยละ 85.46 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน 253 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51 รองลงมาคือ กลุ่มสงสัยว่าจะเป็น ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 1.51 ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 จำนวน 2,174 คน โดยได้จำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยว่าจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มปกติ จำนวน 1,612 คน คิดเป็นร้อยละ 74.15 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 368 คน คิดเป็นร้อยละ 16.93 รองลงมาคือกลุ่มสงสัยว่าจะเป็น ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 8.23 ซึ่งถือว่าผลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่นำไปสู่ภาระที่มากขึ้นทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ส่งผลให้อัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ความต้องการมาตรการเร่งด่วนในการแก้ปัญหา ให้ความสำคัญต่อการคัดกรอง ดูแลรักษา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและฟื้นฟูสุขภาพเชิงรุก ที่มีคุณภาพและครอบคลุมประชากรทั้งในระดับบุคคลและชุมชน จากสถานการณ์การระบาดของโรคหัวใจและหลอดเลือดในภาพรวมของประเทศจากสถิติสาธารณสุข ปี 2566 และ2567 พบว่าเป็นสาเหตุการตายลำดับที่3 และที่4และมีสาเหตุการตายเท่ากับ 56.2และ52.6ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ โดยมีภาวะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ
ผลการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 จำนวน 2,532 คน โดยจำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยว่าจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มปกติ จำนวน 1,980 คน คิดเป็นร้อยละ 85.46 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน 253 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51 รองลงมาคือ กลุ่มสงสัยว่าจะเป็น ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 1.51 ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 จำนวน 2,174 คน โดยได้จำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยว่าจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มปกติ จำนวน 1,612 คน คิดเป็นร้อยละ 74.15 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 368 คน คิดเป็นร้อยละ 16.93 รองลงมาคือกลุ่มสงสัยว่าจะเป็น ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 8.23 ซึ่งถือว่าผลการคัดกรองพบมีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่สงสัยเป็นโรค สูง ทั้ง 2 โรค ฉะนั้น การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ยังเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปี ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการวัดความดันโลหิตหรือตรวจหาน้ำตาลในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จากข้อมูลดังกล่าว ชมรมอาสามสมัครสาธารณสุขตำบลปุยุด จึงจัดทำโครงการ SMART อสม สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ในการคัดกรองสุขภาพ และสนับสนุนให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพ วัดความดันโลหิต และตรวจเบาหวาน ให้มากที่สุด โดยคาดหวังว่า ให้ประชาชนรับรู้สถานะสุขภาพและร่วมกันดูแลสุขภาพ รับรู้และใส่ใจด้านสุขภาพ มีการเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา และภาระต่าง ๆ ต่อครอบครัวและสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบปี
- 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
- 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายซึ่งตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง
- 4.อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปูยุดมีความรู้และสามารถคัดกรองสุขภาพได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.สำรวจ จัดทำฐานข้อมูลประชากร อายุ 35 ปี ขึ้นไป
- 2.ประสานงานกับแกนนำชมรมสร้างสุขภาพ/ อสม. ของแต่ละหมู่บ้าน
- 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข ในการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- 4.ชมรมสร้างสุขภาพ/ อสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ตามแนวทางการดำเนินงานที่ได้กำหนดไว้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานอย่างต่อเนื่องทุกปี
- ประชาชนที่ทราบว่ามีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องไม่เป็นภาระในการดูแล รักษาภาระต่อครอบครัวและสังคม
- ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ได้รับการรักษาและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
- อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้อละสามารถคัดกรองสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบปี
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย ร้อยละ 80
2
2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง ร้อยละ 80 ได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
3
3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายซึ่งตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 ที่ตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง
4
4.อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปูยุดมีความรู้และสามารถคัดกรองสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของสาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้และสามารถปฏิบัติการคัดกรองได้ถูกต้อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบปี (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายซึ่งตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง (4) 4.อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปูยุดมีความรู้และสามารถคัดกรองสุขภาพได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจ จัดทำฐานข้อมูลประชากร อายุ 35 ปี ขึ้นไป (2) 2.ประสานงานกับแกนนำชมรมสร้างสุขภาพ/ อสม. ของแต่ละหมู่บ้าน (3) 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข ในการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (4) 4.ชมรมสร้างสุขภาพ/ อสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ตามแนวทางการดำเนินงานที่ได้กำหนดไว้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68 - L3017 - 03 - 04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวแวบีเดาะ เจะอุบง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568 ”
ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวแวบีเดาะ เจะอุบง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68 - L3017 - 03 - 04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68 - L3017 - 03 - 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่นำไปสู่ภาระที่มากขึ้นทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ส่งผลให้อัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ความต้องการมาตรการเร่งด่วนในการแก้ปัญหา ให้ความสำคัญต่อการคัดกรอง ดูแลรักษา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและฟื้นฟูสุขภาพเชิงรุก ที่มีคุณภาพและครอบคลุมประชากรทั้งในระดับบุคคลและชุมชน จากสถานการณ์การระบาดของโรคหัวใจและหลอดเลือดในภาพรวมของประเทศจากสถิติสาธารณสุข ปี 2566 และ2567 พบว่าเป็นสาเหตุการตายลำดับที่3 และที่4และมีสาเหตุการตายเท่ากับ 56.2และ52.6ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ โดยมีภาวะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ผลการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 จำนวน 2,532 คน โดยจำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยว่าจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มปกติ จำนวน 1,980 คน คิดเป็นร้อยละ 85.46 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน 253 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51 รองลงมาคือ กลุ่มสงสัยว่าจะเป็น ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 1.51 ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 จำนวน 2,174 คน โดยได้จำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยว่าจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มปกติ จำนวน 1,612 คน คิดเป็นร้อยละ 74.15 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 368 คน คิดเป็นร้อยละ 16.93 รองลงมาคือกลุ่มสงสัยว่าจะเป็น ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 8.23 ซึ่งถือว่าผลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่นำไปสู่ภาระที่มากขึ้นทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ส่งผลให้อัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ความต้องการมาตรการเร่งด่วนในการแก้ปัญหา ให้ความสำคัญต่อการคัดกรอง ดูแลรักษา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและฟื้นฟูสุขภาพเชิงรุก ที่มีคุณภาพและครอบคลุมประชากรทั้งในระดับบุคคลและชุมชน จากสถานการณ์การระบาดของโรคหัวใจและหลอดเลือดในภาพรวมของประเทศจากสถิติสาธารณสุข ปี 2566 และ2567 พบว่าเป็นสาเหตุการตายลำดับที่3 และที่4และมีสาเหตุการตายเท่ากับ 56.2และ52.6ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ โดยมีภาวะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ผลการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 จำนวน 2,532 คน โดยจำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยว่าจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มปกติ จำนวน 1,980 คน คิดเป็นร้อยละ 85.46 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน 253 คน คิดเป็นร้อยละ 10.51 รองลงมาคือ กลุ่มสงสัยว่าจะเป็น ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 1.51 ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 จำนวน 2,174 คน โดยได้จำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มสงสัยว่าจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มปกติ จำนวน 1,612 คน คิดเป็นร้อยละ 74.15 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 368 คน คิดเป็นร้อยละ 16.93 รองลงมาคือกลุ่มสงสัยว่าจะเป็น ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 8.23 ซึ่งถือว่าผลการคัดกรองพบมีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่สงสัยเป็นโรค สูง ทั้ง 2 โรค ฉะนั้น การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ยังเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปี ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการวัดความดันโลหิตหรือตรวจหาน้ำตาลในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จากข้อมูลดังกล่าว ชมรมอาสามสมัครสาธารณสุขตำบลปุยุด จึงจัดทำโครงการ SMART อสม สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ในการคัดกรองสุขภาพ และสนับสนุนให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพ วัดความดันโลหิต และตรวจเบาหวาน ให้มากที่สุด โดยคาดหวังว่า ให้ประชาชนรับรู้สถานะสุขภาพและร่วมกันดูแลสุขภาพ รับรู้และใส่ใจด้านสุขภาพ มีการเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา และภาระต่าง ๆ ต่อครอบครัวและสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบปี
- 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
- 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายซึ่งตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง
- 4.อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปูยุดมีความรู้และสามารถคัดกรองสุขภาพได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.สำรวจ จัดทำฐานข้อมูลประชากร อายุ 35 ปี ขึ้นไป
- 2.ประสานงานกับแกนนำชมรมสร้างสุขภาพ/ อสม. ของแต่ละหมู่บ้าน
- 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข ในการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- 4.ชมรมสร้างสุขภาพ/ อสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ตามแนวทางการดำเนินงานที่ได้กำหนดไว้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานอย่างต่อเนื่องทุกปี
- ประชาชนที่ทราบว่ามีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องไม่เป็นภาระในการดูแล รักษาภาระต่อครอบครัวและสังคม
- ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ได้รับการรักษาและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
- อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้อละสามารถคัดกรองสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบปี ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง ร้อยละ 80 ได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง |
|
|||
3 | 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายซึ่งตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 ที่ตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง |
|
|||
4 | 4.อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปูยุดมีความรู้และสามารถคัดกรองสุขภาพได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของสาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้และสามารถปฏิบัติการคัดกรองได้ถูกต้อง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบปี (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายซึ่งตรวจพบความผิดปกติและสงสัยเป็นโรคได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องต่อเนื่อง (4) 4.อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปูยุดมีความรู้และสามารถคัดกรองสุขภาพได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจ จัดทำฐานข้อมูลประชากร อายุ 35 ปี ขึ้นไป (2) 2.ประสานงานกับแกนนำชมรมสร้างสุขภาพ/ อสม. ของแต่ละหมู่บ้าน (3) 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข ในการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (4) 4.ชมรมสร้างสุขภาพ/ อสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ตามแนวทางการดำเนินงานที่ได้กำหนดไว้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ SMART อสม. สู่ความเป็นเลิศด้านการคัดกรองและดูแลสุขภาพ โดยชมรมอสม.ตำบลปูยุด ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68 - L3017 - 03 - 04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวแวบีเดาะ เจะอุบง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......