กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทุ่ง งบประมาณ 2568

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทุ่ง งบประมาณ 2568 ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางไอริณ เจ๊ะบา




ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทุ่ง งบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L8409-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทุ่ง งบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทุ่ง งบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทุ่ง งบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8409-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเนื่องจากมีผลกระทบต่อประชาชนไทยทุกกลุ่มวัยได้แก่ เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และผู้สูงอายุภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์เป็นปัญหาสุขภาพที่แทรกซ้อนขึ้นมาระหว่างตั้งครรภ์สามารถเกิดขึ้นได้เสมอ เป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพที่คนท้องควรระวังและต้องให้ความสำคัญอย่างมาก เพราะผลกระทบไม่ได้เกิดขึ้นกับแม่ท้องคนเดียว แต่ยังจะส่งผลกระทบต่อทารกน้อยในครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจะมีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรงจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการตกเลือดในระหว่างคลอด และมีโอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง จากการสำรวจสถานการณ์ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ในปีงบประมาณ 2567 ในประเทศไทยพบว่าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก สูงถึงร้อยละ 17.34 ซึ่งเป้าหมายกรมอนามัยกำหนดให้ไม่เกิน ร้อยละ 14 นอกจากนี้ยังพบว่าเขตสุขภาพที่ 12 พบถึงร้อยละ 18.12
ในส่วนตัวชี้วัดของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่ง ปี 2567 ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์สูง  23.50 % เป้าหมายไม่เกิน 14 % และในหญิงที่คลอดบุตรแล้วในเขตรับผิดชอบมีภาวะโลหิตจาง 36.36 %
ไม่มีคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักมากกว่า 2500 กรัม ในส่วนที่เป็นปัญหาคือบางรายฝากคลินิก และบางรายไม่ได้อยู่ในพื้นที่ ย้ายถิ่นฐาน บ่อย ติดตามไม่ได้ ในปี2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่ง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เนื่องจากหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เป็นวัยที่มีความสำคัญและส่งผลต่อทารกและเด็กซึ่งเป็นเยาวชนของชาติ จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทุ่ง งบประมาณ 2568 โดยมุ่งเน้นให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วนตนเอง อันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด มีความรู้เรื่องแนวทางควบคุมป้องกันโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็ก,ผลกระทบของการขาดธาตุเหล็ก,อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง 2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการติดตามและได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 3. เพื่อลดอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ไม่เกิน 14 %

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่พร้อมจะมีบุตร หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด มีความรู้ในเรื่องการควบคุมป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยเฉพาะอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงทำให้เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตัวเองและสมาชิกในครอบครัว 2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่พร้อมจะมีบุตร หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการติดตามและได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 80 % 3..เพื่อลดอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ไม่เกิน 14 %

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด มีความรู้เรื่องแนวทางควบคุมป้องกันโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็ก,ผลกระทบของการขาดธาตุเหล็ก,อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง 2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการติดตามและได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 3. เพื่อลดอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ไม่เกิน 14 %
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร  หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด มีความรู้เรื่องแนวทางควบคุมป้องกันโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็ก,ผลกระทบของการขาดธาตุเหล็ก,อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง  2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร หญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการติดตามและได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 3. เพื่อลดอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ไม่เกิน 14 %

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทุ่ง งบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 68-L8409-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางไอริณ เจ๊ะบา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด