กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยเครือข่าย ตำบลบานา ”
ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา




ชื่อโครงการ โครงการปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยเครือข่าย ตำบลบานา

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3013-01-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยเครือข่าย ตำบลบานา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยเครือข่าย ตำบลบานา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยเครือข่าย ตำบลบานา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3013-01-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาของระบบสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการเฝ้าระวังป้องกัน สอบสวนและควบคุมโรคให้ได้โดยเร็ว เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคให้ทันท่วงที ซึ่งหากมีการระบาดเกิดขึ้นจะก่อให้เกิดปัญหาในวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพของประชาชน และทำให้เกิดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สร้างความตื่นตระหนกให้กับประชาชนเป็นอย่างมาก การที่จะดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคให้ได้ผล ทันเวลา และมีประสิทธิภาพ สามารถหยุดการแพร่ระบาดได้นั้น ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน รวมทั้งต้องดำเนินการตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข และต้องมีทีมปฏิบัติงานที่มีศักยภาพ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องระบาดวิทยาเป็นอย่างดี มีทักษะในการดำเนินงานป้องกันโรค การสอบสวนโรค การเฝ้าระวังและควบคุมโรค การรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ และส่งรายงานข้อมูลทางระบาดวิทยา เพื่อแจ้งเตือนเหตุผิดปกติให้กับประชาชน ผู้นำชุมชน หน่วยงานองค์กรในท้องถิ่น และเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคได้ทราบ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายจัดตั้งทีมในระดับตำบล คือทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตามสโลแกน “รู้เร็ว แจ้งเร็ว ควบคุมเร็ว” ทำหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในระดับตำบล ทำให้เกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้ โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาโรคระบาดประจำถิ่นของตำบลบานา จากข้อมูล 3 ปี ย้อนหลังพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ดังนี้ คือปี 2564 จำนวน15 ราย 98.75 ต่อประชากรแสนคน ปี พ.ศ.2565 จำนวน 22 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 102.38 ต่อแสนประชากร และพ.ศ. 2566 จำนวน 72 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 355.07 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตตามลำดับ  ในปี2568 ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง วันที่ 2 มิถุนายน 2568 พบผู้ป่วยจำนวน 22 ราย อัตราป่วย 107.14 ต่อแสนประชากร    พบผู้ป่วยเพศชายจำนวน 11 ราย เพศหญิงจำนวน 11 ราย สัดส่วน1:1 กลุ่มอายุที่พบผู้ป่วยมากที่สุดคือกลุ่มอายุ 11-20 ปี    ร้อยละ 30.00 การระบาดมักระบาดในช่วงเดือนพฤษภาคม – เดือนมกราคมของปีถัดไป พบการระบาดแบบ generationที่ 2    ในหมู่ 3 ของตำบลบานาอำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ผู้ป่วยจำนวน 6 ราย อัตราป่วย 641.71 ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในพื้นที่ขยายไปยังหมู่บ้านใกล้เคียง ซึงพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด จากการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายโดยอาสาสมัครสาธารณสุขพบว่า ค่า HI เท่ากับ 23.79 BI เท่ากับ 81.37 CI เท่ากับ 40.5 เกินค่ามาตรฐานกำหนด ซึ่งส่งผลให้มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ประชาชนขาดความตระหนักในพฤติกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และขาดความตระหนักในพฤติกรรมการป้องกันตนไม่ให้ยุงกัด ลักษณะบ้านส่วนใหญ่ที่พบการระบาดซ้ำซาก พบการกำจัดขยะที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะในชุมชนแออัดเอื้อต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธ์ยุง
    ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจ ความตระหนัก เกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง สามารถจัดระบบการจัดการเฝ้าระวังป้องกันไข้เลือดออกตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานควบคุมโรคติดต่อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานาจึงได้จัดทำโครงการ “ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยเครือข่ายในพื้นที่ตำบลบานา”ขึ้นเพื่อดำเนินการควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมชี้แจงทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับตำบล เพื่อคืนข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และการดำเนินโครงการฯ/การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะทีมงานต่างๆ ได้แก่ ทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วย ทีมสอบสวนและควบคุมโรคเบื้อ
  2. ออกประเมินการสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน/หมู่บ้าน, ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วย, สอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น โดยทีมงานสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น
  3. รณรงค์เกี่ยวกับการจัดการบ้านพักที่อยู่อาศัยในชุมชนให้น่าอยู่ การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย โดยใช้รถประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครัวเรือนที่มีการระบาดจากโรคไข้เลือดออกได้รับการเยี่ยมบ้าน สอบสวนโรคเบื้องต้น และดำเนินการพ่นหมอกควันทุกราย

2.ทุกครัวเรือนได้รับการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย, ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและไม่มีลูกน้ำยุงลายมีค่า HI ต่ำกว่า 10

3.สถานที่ราชการ เอกชน ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็ก มีค่า CI=0

4.สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ และไม่พบการระบาดของโรคไข้เลือดออกแบบ generation ที่ 2


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.บ้านเรือนหรือจุดพื้นที่ซึ่งมีการระบาดของไข้เลือดออกได้รับการพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย ร้อยละ 100 ของพื้นที่ซึ่งมีการระบาด 2.ทีมเผชิญโรคระบาดเคลื่อนที่เร็ว (SSRT) ของชุมชนเพื่อสอบสวนโรคร้อยละ 100 ของคนป่วยโรคไข้เลือดออก
0.00

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0) 2.ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักและตื่นตัวในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมชี้แจงทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับตำบล เพื่อคืนข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และการดำเนินโครงการฯ/การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะทีมงานต่างๆ ได้แก่ ทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วย ทีมสอบสวนและควบคุมโรคเบื้อ (2) ออกประเมินการสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน/หมู่บ้าน, ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วย, สอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น โดยทีมงานสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น (3) รณรงค์เกี่ยวกับการจัดการบ้านพักที่อยู่อาศัยในชุมชนให้น่าอยู่  การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย โดยใช้รถประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยเครือข่าย ตำบลบานา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3013-01-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด