โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลยะหา
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลยะหา |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลยะหา |
วันที่อนุมัติ | 27 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 27 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 59,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายกฤตภาส ปฐมนุพงษ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.504,101.125place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ พ.ศ.2567 ลววันที่ 13 สิงหาคม 2567 ข้อ 10 กำหนดว่า เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามข้อ 7 ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้ (4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ ให้มีประสิทธิภาพ ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนฯ ตามข้อ 7 (1) (2) และ (3) ในแต่ละปีงบประมาณนั้น หาก อปท.ใด ได้รับเงินเพิ่มตามข้อ 7 วรรคสอง (ค่าบริการ LTC ) อาจสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้อีกไม่เกินร้อยละ 5 กรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อจัดหาครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ให้สนับสนุนได้วงเงินตามความจำเป็น และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้เป็นทรัพย์สินของ อปท. นั้น ดังนั้น เพื่อให้การนดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุวัตถุประสงค์ โดยคำนึงถึงสถานการณ์คลังของกองทุนฯ สำนักเลขานุการกองทุนฯ จึงเสนอจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2568 นั้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.คณะกรรมการกองทุนฯ สามารถบริหารจัดการกองทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.องค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่สามารถดำเนินงานกองทุนฯ
3.ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลยะหา มีส่วนร่วมและเข้าถึงบริการของกองทุนฯ
4.กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลยะหา
5.ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนในเขตพื้นที่เทศบาลฯ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ก.ค. 2568 13:56 น.