กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางพรรณี พรหมอ่อน ตำแหน่ง ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-3-04 เลขที่ข้อตกลง 52/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคข้อเสื่อม เป็นโรคที่พบบ่อยที่สุดในคนสูงอายุทุกเชื้อชาติ พบได้ร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุอายุ 60 ปีขึ้นไป ข้อมูลล่าสุดในปี 2561 พบคนไทยป่วยโรคข้อเสื่อมกว่า 6 ล้านคน มากที่สุดคือข้อเข่า เนื่องจากเป็นอวัยวะที่แบกรับน้ำหนักตัวโดยตรงซึ่งทำหน้าที่เคลื่อนไหวเกือบตลอดเวลา พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 2-3 เท่าตัว คาดว่าผู้ป่วยโรคนี้จะเพิ่มขึ้นมากจากปัญหาโรคอ้วน ผลการวิจัยทั่วโลก ยืนยันตรงกันพบมีความเสี่ยงต่อการเกิดข้อเข่าเสื่อมถึง 1.4 เท่าตัว โดยผู้หญิงเสี่ยง 4.37 เท่าตัว และผู้ชายเสี่ยง 2.7 เท่าตัว ซึ่งขณะนี้ผลสำรวจทั่วประเทศไทยมีคนอ้วนประมาณ 16 ล้านคน โดยมากเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน ซึ่งปัจจุบันในเขตเทศบาลนครสงขลาก็พบผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมจำนวนมาก หากไม่เร่งควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คาดว่าในอนาคตจะพบผู้เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมตั้งแต่วัยหนุ่มสาว โดยได้มีการศึกษาวิจัยรูปแบบการฟื้นสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่มีปัญหาข้อเสื่อมและมีน้ำหนักตัวมากเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีต้นแบบจัดบริการฟื้นฟูที่เหมาะสมในการบำบัดอาการปวด ลดน้ำหนักตัว ชะลอความเสื่อมข้อเข่า เพื่อรองรับการจัดบริการ ในสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ซึ่งขณะนี้มีผู้สูงอายุถึง 10 ล้านคน ซึ่งพบว่าธาราบำบัด หรือ Hydrotherapy เป็นเทคนิคการรักษา ที่อาศัยคุณสมบัติของน้ำที่มีทั้งแรงลอยตัวและแรงดันน้ำ มาเป็นตัวช่วยในการออกกำลังกายให้หลากหลายคือการใช้คุณสมบัติของน้ำ ช่วยพยุงรับทุกส่วนของร่างกาย ทำให้เคลื่อนไหวได้ง่ายขึ้น ลดแรงกระแทก และบรรเทาความเจ็บปวด ฉะนั้นธาราบำบัดจึงสามารถฟื้นฟูได้ทั้งร่างกายและจิตใจผู้ป่วย โดยผู้ป่วยกลุ่มหลักๆ ที่สามารถใช้ธาราบำบัดเยียวยาได้ ได้แก่ผู้ที่มีปัญหากล้ามเนื้ออ่อนแรง ผู้ที่มีปัญหากระดูกหัก ผู้ป่วยโรคอ้วน ผู้ป่วยโรคข้อ บุคคลทั่วไปที่มีความเครียด และเหล่านี้ คือประโยชน์โดยตรงของธาราบำบัดต่อสุขภาพข้อต่อ ในฐานะที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีบทบาทหน้าที่ในการดูแลภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อผ่อนคลาย ลดอาการ ลดปัญหา ลดความเจ็บปวด เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อ ลดปัญหาข้อยึดติดและ ความเสียสมดุลทรงตัว รวมทั้งเพื่อส่งเสริมสุขภาพของร่างกาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าของประชาชน
  2. 2.เพื่อชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการฝึกอบรมโดยการบรรยายและการฝึกปฏิบัติในน้ำ กิจกรรมการออกกำลังกายในน้ำ (ต่อเนื่อง) จำนวน 8 ครั้ง (สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
  2. ค่าวิทยากรบรรยาย
  3. ค่าวิทยากรฝึกปฏิบัติ
  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเป้าหมาย
  5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มวิทยากรและเจ้าหน้าที่
  6. ค่าสถานที่
  7. ค่าอุปกรณ์สำหรับฝึกปฏิบัติ
  8. ค่าวัสดุสำหรับยืดเส้นลดอาการปวดเมื่อย
  9. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ
  10. ค่าจัดทำรูปเล่มโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนได้รับการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าในระดับดี ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
  2. มีการใช้น้ำเป็นสื่อรักษาในลักษณะการฝึกออกกำลังกายในน้ำและการรักษาด้วยคุณสมบัติของน้ำ
  3. สามารถชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว
  4. ประชาชนได้รับส่งเสริมสุขภาพผ่อนคลายความเครียด   5. ผลการประเมินความปวดข้อเข่าใช้น้ำเป็นสื่อในการรักษา โดยใช้ pain score อยู่ในระดับที่ดีขึ้น จากเดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าของประชาชน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่า
80.00

 

2 2.เพื่อชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 50 ของผู้ป่วย pain score อาการป่วยข้อเข่าอยู่ในระดับที่ดีขึ้น
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าของประชาชน (2) 2.เพื่อชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการฝึกอบรมโดยการบรรยายและการฝึกปฏิบัติในน้ำ  กิจกรรมการออกกำลังกายในน้ำ (ต่อเนื่อง) จำนวน 8 ครั้ง (สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) (2) ค่าวิทยากรบรรยาย (3) ค่าวิทยากรฝึกปฏิบัติ (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเป้าหมาย (5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มวิทยากรและเจ้าหน้าที่ (6) ค่าสถานที่ (7) ค่าอุปกรณ์สำหรับฝึกปฏิบัติ (8) ค่าวัสดุสำหรับยืดเส้นลดอาการปวดเมื่อย (9) ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ (10) ค่าจัดทำรูปเล่มโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-3-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรรณี พรหมอ่อน ตำแหน่ง ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด