โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ”
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ” ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางอรัญญาฤทธิเดช
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ”
ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3020-01-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3020-01-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,582.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
-เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุรค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติในหลายประเทศล้วนมุ้งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็กซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมรการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการชั้นพื้นฐานและมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะให้เด็กสามารถเรียนรู้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้จนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต
-สภาพปัญหา จากผลการสำรวจระดับสติปัญญาของกรมสุขภาพจิต พ.ศ.2554 และ 2559 พบว่า ระดับสติปัญญาเด็กในจังหวัดปัตตานีจัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของประเทศ ก่อให้เกิดการดำเนินงานตรวจคัดกรองไอคิว อีคิวเด็กนักเรียน ป.1 ในปี 2557 ตามนโยบายกรมสุขภาพจิต นำร่องในกลุ่มเด็กนักเรียน ป.1 อำเภอละ 1 โรงเรียน โดยในส่วนของอำเภอแม่ลาน ปีที่ 1 จำนวน 10 ราย พบเสี่ยง LD (มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านการอ่าน การเขียนและการคิด) จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 20 และการดำเนินงานปี 2558 คัดกรองโรงเรียนนำร่องจากโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรอำเภอแม่ลาน 3 โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนบ้านโคกเหรียง โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย โรงเรียนบ้านวังกว้าง รวมจำนวนนักเรียน ป.1 ทั้งสิ้น 93 ราย พบเสี่ยง LD (มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียนและการคิด) จำนวน 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.20 เสี่ยง ADHD (สมาธิสั้น) จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.45 และเสี่ยง ID (สติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์) จำนวน 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.22 ตามลำดับ ส่วนเด็กที่เสี่ยง EQ (ความฉลาดทางอารมณ์) 22 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.65 จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น กลุ่มงานสุขภาพจิตและยาเสพติด โรงพยาบาล ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ระดับสติปัญญาและความฉลาดทาทงอารมณ์ของเด็กกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษา จึงได้มีการจัดประชุมชี้แจงถึงปัญหาดังกล่าว นำมาซึ่งการคัดกรองเพิ่มในปี 2559 ของอำเภอแม่ลาน ในกลุ่มเด็กนักเรียน ป.1, ป.3 และ ป.6 รวมทั้งสิ้น 11 โรงเรียน จำนวน 522 รายพบว่าเสี่ยง LD (มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิด) จำนวน 106 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.30 เสี่ยง ID (สติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์) 64 ราย คิอเป็นร้อยละ 12.30 และ ADHD (สมาธิสั้น) 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.80 ตามลำดับส่วนเด็กที่เสี่ยง EQ (ความฉลาดทางอารมณ์) 35 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.70 จึงนำมาสู่การฝึกกระตุ้นเพื่อเฝ้าระวังดูแล ช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่มีปัญญาด้านไอคิวอีคิว ตามมาตรฐานที่กำหนด เพราะกลุ่มงานสุขภาพจิตและยาเสพติด โรงพยาบาลแม่ลาน ถือว่าเด็กกลุ่มนี้เป็นความหวัง เป็นพลังสร้างชาติบ้านเมือง ต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการด้าน IQ/EQ ล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
58
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กกลุ่มเสี่ยง IQ/EQ ที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQโดยมีครูและผู้ปกครองเป็นส่วนร่วม
๒. เด็กกลุ่มเสี่ยง IQ/EQ ที่ได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ มีพัฒนาการความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์
ที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ/EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย
วันที่ 29 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ได้รับความร่วมมือจากครูและผู้ปกครองในแต่ละโรงเรียน ในการรับมอบคู่มือและอุปกรณ์การกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ
-เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการทาง IQ/EQ
-เด็กที่ได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการที่ดีขึ้น
-ครูให้ความร่วมมือในการประเมินและติดตามได้ดี
-เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
58
58
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1. จัดทำและดำเนินการชี้แจ้งกลุ่มเป้าหมายใน 4 โรงเรียนตำบลม่วงเตี้ย
รายละเอียดการดำเนินงาน: ได้จัดทำโครงการและชี้แจงกลุ่มเป้าหมายเด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าด้าน IQ/EQ จำนวน 58 รายใน 4 โรงเรียนตำบลม่วงเตี้ย และเสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนฯ ดำเนินการขออนุมัติดำเนินโครงการ เมื่อได้รับการอนุมัติ
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: ได้รับการอนุมัติ จากกองทุนฯ
กิจกรรมที่ 2. ชี้แจงโครงการให้กับครูประจำชั้น ป.1, ป.3, ป.6 และผู้ปกครองเด็กกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดการดำเนินงาน: ได้ดำเนินการชี้แจงโครงการให้กับครูประจำชั้น ป.1, ป.3, ป.6 และผู้ปกครองเด็กกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนบ้านปลักปรือ โรงเรียนบ้านคูระ โรงเรียนบ้านตันหยง และโรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย พร้อมมอบคู่มือและอุปกรณ์การกระตุ้นพัฒนาการ IQ/EQ
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: ได้รับความร่วมมือจากครูและผู้ปกครองในแต่ละโรงเรียน ในการรับมอบคู่มือและอุปกรณ์การกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ
กิจกรรมที่ 3. การส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก IQ/EQ โดยครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วม
รายละเอียดการดำเนินงาน: ครูและผู้ปกครองได้ส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก IQ/EQ ด้วยคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการทาง IQ/EQ
กิจกรรมที่ 4. ตรวจประเมินการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ ทุก 1 เดือน, 3 เดือน, 1 ปี
รายละเอียดการดำเนินงาน: ได้ดำเนินการตรวจประเมินการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ ทุก 1 เดือน, 3 เดือน
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: เด็กที่ได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ มีพัฒนาการที่ดีขึ้น
กิจกรรมที่ 5. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
รายละเอียดการดำเนินงาน: ประสานและติดตามประเมินผลการดำเนินงานของการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอ่าน การเขียน การคิดคำนวณของเด็ก
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: ครูให้ความร่วมมือในการประเมินและติดตามได้ดี
กิจกรรมที่ 6. รายงานผลการดำเนินงาน คืนข้อมูลให้กับพื้นที่
รายละเอียดการดำเนินงาน: คืนข้อมูลให้กับพื้นที่แต่ละโรงเรียน
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการด้าน IQ/EQ ล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
ตัวชี้วัด : ๑. เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าด้าน IQ/EQได้รับการส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการ IQ/EQ ร้อยละ 100 ๒. ครูประจำชั้น เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าด้าน IQ/EQ มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ100 ๓. พ่อแม่ ผู้ปกครอง เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าด้าน IQ/EQ มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง
ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
58
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
58
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการด้าน IQ/EQ ล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ” จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3020-01-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอรัญญาฤทธิเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ” ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางอรัญญาฤทธิเดช
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3020-01-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3020-01-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,582.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
-เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุรค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติในหลายประเทศล้วนมุ้งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็กซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมรการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการชั้นพื้นฐานและมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะให้เด็กสามารถเรียนรู้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้จนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต -สภาพปัญหา จากผลการสำรวจระดับสติปัญญาของกรมสุขภาพจิต พ.ศ.2554 และ 2559 พบว่า ระดับสติปัญญาเด็กในจังหวัดปัตตานีจัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของประเทศ ก่อให้เกิดการดำเนินงานตรวจคัดกรองไอคิว อีคิวเด็กนักเรียน ป.1 ในปี 2557 ตามนโยบายกรมสุขภาพจิต นำร่องในกลุ่มเด็กนักเรียน ป.1 อำเภอละ 1 โรงเรียน โดยในส่วนของอำเภอแม่ลาน ปีที่ 1 จำนวน 10 ราย พบเสี่ยง LD (มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ด้านการอ่าน การเขียนและการคิด) จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 20 และการดำเนินงานปี 2558 คัดกรองโรงเรียนนำร่องจากโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรอำเภอแม่ลาน 3 โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนบ้านโคกเหรียง โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย โรงเรียนบ้านวังกว้าง รวมจำนวนนักเรียน ป.1 ทั้งสิ้น 93 ราย พบเสี่ยง LD (มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียนและการคิด) จำนวน 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.20 เสี่ยง ADHD (สมาธิสั้น) จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.45 และเสี่ยง ID (สติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์) จำนวน 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.22 ตามลำดับ ส่วนเด็กที่เสี่ยง EQ (ความฉลาดทางอารมณ์) 22 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.65 จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น กลุ่มงานสุขภาพจิตและยาเสพติด โรงพยาบาล ได้ตระหนักถึงสถานการณ์ระดับสติปัญญาและความฉลาดทาทงอารมณ์ของเด็กกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษา จึงได้มีการจัดประชุมชี้แจงถึงปัญหาดังกล่าว นำมาซึ่งการคัดกรองเพิ่มในปี 2559 ของอำเภอแม่ลาน ในกลุ่มเด็กนักเรียน ป.1, ป.3 และ ป.6 รวมทั้งสิ้น 11 โรงเรียน จำนวน 522 รายพบว่าเสี่ยง LD (มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิด) จำนวน 106 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.30 เสี่ยง ID (สติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์) 64 ราย คิอเป็นร้อยละ 12.30 และ ADHD (สมาธิสั้น) 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.80 ตามลำดับส่วนเด็กที่เสี่ยง EQ (ความฉลาดทางอารมณ์) 35 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.70 จึงนำมาสู่การฝึกกระตุ้นเพื่อเฝ้าระวังดูแล ช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่มีปัญญาด้านไอคิวอีคิว ตามมาตรฐานที่กำหนด เพราะกลุ่มงานสุขภาพจิตและยาเสพติด โรงพยาบาลแม่ลาน ถือว่าเด็กกลุ่มนี้เป็นความหวัง เป็นพลังสร้างชาติบ้านเมือง ต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการด้าน IQ/EQ ล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 58 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กกลุ่มเสี่ยง IQ/EQ ที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQโดยมีครูและผู้ปกครองเป็นส่วนร่วม
๒. เด็กกลุ่มเสี่ยง IQ/EQ ที่ได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ มีพัฒนาการความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์
ที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ/EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ได้รับความร่วมมือจากครูและผู้ปกครองในแต่ละโรงเรียน ในการรับมอบคู่มือและอุปกรณ์การกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ -เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการทาง IQ/EQ -เด็กที่ได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการที่ดีขึ้น -ครูให้ความร่วมมือในการประเมินและติดตามได้ดี -เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
|
58 | 58 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1. จัดทำและดำเนินการชี้แจ้งกลุ่มเป้าหมายใน 4 โรงเรียนตำบลม่วงเตี้ย
รายละเอียดการดำเนินงาน: ได้จัดทำโครงการและชี้แจงกลุ่มเป้าหมายเด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าด้าน IQ/EQ จำนวน 58 รายใน 4 โรงเรียนตำบลม่วงเตี้ย และเสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนฯ ดำเนินการขออนุมัติดำเนินโครงการ เมื่อได้รับการอนุมัติ
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: ได้รับการอนุมัติ จากกองทุนฯ
กิจกรรมที่ 2. ชี้แจงโครงการให้กับครูประจำชั้น ป.1, ป.3, ป.6 และผู้ปกครองเด็กกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดการดำเนินงาน: ได้ดำเนินการชี้แจงโครงการให้กับครูประจำชั้น ป.1, ป.3, ป.6 และผู้ปกครองเด็กกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนบ้านปลักปรือ โรงเรียนบ้านคูระ โรงเรียนบ้านตันหยง และโรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย พร้อมมอบคู่มือและอุปกรณ์การกระตุ้นพัฒนาการ IQ/EQ
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: ได้รับความร่วมมือจากครูและผู้ปกครองในแต่ละโรงเรียน ในการรับมอบคู่มือและอุปกรณ์การกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ
กิจกรรมที่ 3. การส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก IQ/EQ โดยครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วม
รายละเอียดการดำเนินงาน: ครูและผู้ปกครองได้ส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก IQ/EQ ด้วยคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการทาง IQ/EQ
กิจกรรมที่ 4. ตรวจประเมินการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ ทุก 1 เดือน, 3 เดือน, 1 ปี
รายละเอียดการดำเนินงาน: ได้ดำเนินการตรวจประเมินการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ ทุก 1 เดือน, 3 เดือน
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: เด็กที่ได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ มีพัฒนาการที่ดีขึ้น
กิจกรรมที่ 5. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
รายละเอียดการดำเนินงาน: ประสานและติดตามประเมินผลการดำเนินงานของการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอ่าน การเขียน การคิดคำนวณของเด็ก
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: ครูให้ความร่วมมือในการประเมินและติดตามได้ดี
กิจกรรมที่ 6. รายงานผลการดำเนินงาน คืนข้อมูลให้กับพื้นที่
รายละเอียดการดำเนินงาน: คืนข้อมูลให้กับพื้นที่แต่ละโรงเรียน
ผลสำเร็จที่เกิดจากการทำกิจกรรม: เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการด้าน IQ/EQ ล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ ตัวชี้วัด : ๑. เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าด้าน IQ/EQได้รับการส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการ IQ/EQ ร้อยละ 100 ๒. ครูประจำชั้น เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าด้าน IQ/EQ มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ100 ๓. พ่อแม่ ผู้ปกครอง เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการล่าช้าด้าน IQ/EQ มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 58 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 58 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงพัฒนาการด้าน IQ/EQ ล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการ IQ/EQ โดยมีครูและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ“ส่งเสริม รักษาฟื้นฟูและเฝ้าระวังเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง IQ /EQ ในโรงเรียนประถมศึกษา ตำบลม่วงเตี้ย ” จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3020-01-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอรัญญาฤทธิเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......