กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย


“ โครงการส่งเสริมป้องกันเชิงรุกเพื่อเด็ก 0-5 ปี ตำบลม่วงเตี้ย มีสุขภาพดี ประจำปี 2560 ”

ม.๑ ณ รพ.สต.ม่วงเตี้ย, ม.๒ ณ มัสยิดบ้านคูระ, ม.๓ ณ มัสยิดบ้านตันหยง, ม.๔ ณ อบต.ม่วงเตี้ย, ม.๕ ณ มัสยิดดาแลมือรียง และ ม.๖ ณ มัสยิดกือลองแตยอ

หัวหน้าโครงการ
นายสมรัฐคงเขียว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันเชิงรุกเพื่อเด็ก 0-5 ปี ตำบลม่วงเตี้ย มีสุขภาพดี ประจำปี 2560

ที่อยู่ ม.๑ ณ รพ.สต.ม่วงเตี้ย, ม.๒ ณ มัสยิดบ้านคูระ, ม.๓ ณ มัสยิดบ้านตันหยง, ม.๔ ณ อบต.ม่วงเตี้ย, ม.๕ ณ มัสยิดดาแลมือรียง และ ม.๖ ณ มัสยิดกือลองแตยอ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3020-01-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันเชิงรุกเพื่อเด็ก 0-5 ปี ตำบลม่วงเตี้ย มีสุขภาพดี ประจำปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.๑ ณ รพ.สต.ม่วงเตี้ย, ม.๒ ณ มัสยิดบ้านคูระ, ม.๓ ณ มัสยิดบ้านตันหยง, ม.๔ ณ อบต.ม่วงเตี้ย, ม.๕ ณ มัสยิดดาแลมือรียง และ ม.๖ ณ มัสยิดกือลองแตยอ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันเชิงรุกเพื่อเด็ก 0-5 ปี ตำบลม่วงเตี้ย มีสุขภาพดี ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันเชิงรุกเพื่อเด็ก 0-5 ปี ตำบลม่วงเตี้ย มีสุขภาพดี ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.๑ ณ รพ.สต.ม่วงเตี้ย, ม.๒ ณ มัสยิดบ้านคูระ, ม.๓ ณ มัสยิดบ้านตันหยง, ม.๔ ณ อบต.ม่วงเตี้ย, ม.๕ ณ มัสยิดดาแลมือรียง และ ม.๖ ณ มัสยิดกือลองแตยอ รหัสโครงการ 60-L3020-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,045.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้มีนโยบายของงาน Smart kids กล่าวคือการที่เด็กปัตตานีอายุ 0-5 ปี มีสุขภาพดีและไม่มีโรค ซึ่งประกอบด้วยความครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ วัคซีนครบตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย สุขภาพฟันดี และโภชนาการสมส่วน เพื่อให้งาน Smart kids ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์สูงสุด ฉะนั้นเด็กอายุ 0-5 ปีทุกคนควรได้รับวัคซีนครบ ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย ได้รับการเสริมโภชนาการและได้รับบริการทางทันตกรรมพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนและโรคอื่นๆ สามารถป้องกันได้ด้วยตัวเอง โดยการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีด ตรวจพัฒนาการ ฝึกการแปรงฟัน และเสริมโภชนาการ ให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรค และกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขต้องดำเนินการในทุกพื้นที่ จำเป็นต้องประสานสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ เช่น งานอนามัยโรงเรียน งานโภชนาการ พัฒนาการ ทันตกรรม งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ
จากข้อมูลผลการดำเนินงานปี 2559 ที่ผ่านมาพบว่า จำนวนเด็กอายุ 0-5 ปีในเขต ต.ม่วงเตี้ยทั้งหมด 487 คน พบจำนวนเด็กที่มีปัญหาสุขภาพจำนวน 189 คน ดังนี้ - ได้รับวัคซีนไม่ครบจำนวน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 38.80
- เด็กที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 14.37 - เด็กที่ไม่ได้รับการตรวจพัฒนาการ จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 18.06
- เด็กฟันผุ จำนวน85 คน คิดเป็นร้อยละ 17.45 ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่พบว่า เด็กไม่ได้รับวัคซีนเนื่องจาก ผู้ปกครองยังขาดความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติว่าฉีดวัคซีนไปแล้ว กลัวลูกพิการเดินไม่ได้ กลัวลูกไม่สบาย, เด็กที่น้ำหนักน้อย สาเหตุเกิดจากฐานะทางบ้านไม่ดี รายได้น้อยและขาดความรู้ในด้านโภชนาการ, เด็กที่ไม่ได้รับการตรวจพัฒนาการ สาเหตุเกิดจากผู้ปกครองไปทำงานนอกพื้นที่ ขาดความตระหนัก และขาดอุปกรณ์การตรวจสำหรับลงพื้นที่ และในส่วนเด็กฟันผุ สาเหตุหลักเกิดจาก การแปรงฟันไม่สะอาด ไม่ถูกวิธี ผู้ปกครองขาดทักษะในการแปรงฟัน รวมถึงขาดความรู้ในการปฏิบัติตนของผู้ปกครองและการเลือกบริโภคอาหารให้เด็ก ซึ่งในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน รวมถึง อสม. ในพื้นที่ เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน
ในการนี้ รพ.สต.ม่วงเตี้ย จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการ ส่งเสริมป้องกันเชิงรุกเพื่อเด็ก 0-5ปี ต.ม่วงเตี้ย มีสุขภาพดีขึ้น เพื่อให้ทุกปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ได้รับการแก้ไขทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการฝึกแปรงฟัน ร้อยละ 100
  2. 2.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ไม่พบฟันผุเพิ่มเติมจากเดิม
  3. 3.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
  4. 4.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการ ร้อยละ 100
  5. 5.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับการแก้ไขตามสภาพปัญหา ร้อยละ 100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 189
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ปกครองมีความตระหนักพาเด็กมารับบริการและเด็ก 0-5 ปี มีสุขภาพดี 2.เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ 3.ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย 4.เด็ก 0-5 ปีปราศจากฟันผุ 5.เด็ก 0-5 ปีมีโภชนาการตามเกณฑ์และพัฒนาการเด็กสมวัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    -ผู้ปกครองมีความตระหนักพาเด็กมารับบริการและเด็ก 0-5 ปี มีสุขภาพดี -เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ -ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในแตละช่วงวัย -เด็ก 0-5 ปี ปราศจากฟันผุ -เด็ก 0-5 ปี มีโภชนาการตามเกณฑ์และพัฒนาการเด็กสมวัย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการฝึกแปรงฟัน ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ไม่พบฟันผุเพิ่มเติมจากเดิม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการ ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับการแก้ไขตามสภาพปัญหา ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 189
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 189
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการฝึกแปรงฟัน ร้อยละ 100 (2) 2.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ไม่พบฟันผุเพิ่มเติมจากเดิม (3) 3.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ร้อยละ 90 (4) 4.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการ ร้อยละ 100 (5) 5.เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปีที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับการแก้ไขตามสภาพปัญหา ร้อยละ 100

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมป้องกันเชิงรุกเพื่อเด็ก 0-5 ปี ตำบลม่วงเตี้ย มีสุขภาพดี ประจำปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3020-01-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมรัฐคงเขียว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด