กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร ”

ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาคร บุญนำ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5221-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,744.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนและต้องบริโภคกันอยู่ทุกวัน จะแน่ใจได้อย่างไรว่าอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวันนี้มีความสะอาดปลอดภัย หากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็มั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง แต่คนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทาน ทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่า อาหารมีความปลอดภัยเพียงพอทำให้เกิดความเสี่ยงมากกว่า ในปัจจุบันมีพ่อค้าแม่ค้าที่เอาเปรียบผู้บริโภคโดยนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาจำหน่าย ประกอบอาหาร หรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไปเช่น บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารฟอกขาว เป็นต้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ ดังนั้น หากผู้บริโภคขาดความรู้ ความเข้าใจ อย่างเพียงพอในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร ก็จะยิ่งทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อ หรือเก็บรักษาอาหารได้ถูกต้อง และไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ และเนื่องจากเราทุกคนต้องกินอาหารทุกวันตั้งแต่เกิดจนตาย การให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหาร เป็นพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าผู้บริโภค หรือเป็นผู้ประกอบการผลิตอาหาร ผู้จำหน่ายวัตถุดิบในการปรุงอาหาร การตระหนักในความสำคัญของความปลอดภัยของอาหาร ความสะอาด รู้จักดูแล หยิบจับเก็บรักษาอาหารอย่างถูกต้อง การรู้จักปกป้องตนเอง รู้จักการเลือก สังเกต หรือทดสอบและรู้จักปฏิเสธอาหารที่ไม่ปลอดภัย จึงเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝนตั้งแต่เด็ก รวมทั้งคนในชุมชนเพื่อให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน ดังนั้น ทางชมรมส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน จึงได้ให้ความสำคัญกับความปลอดภัยของอาหารที่ประชาชนได้บริโภค ทั้งในการผลิตและเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย เพื่อเป็นการรักษาสิทธิ์ในการคุ้มครองสุขภาพอนามัยของตนเอง และเป็นการกระตุ้นให้ผู้ประกอบการให้ความสำคัญต่อการจำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพ สะอาดและปลอดภัย ต่อผู้บริโภคเพื่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมอาหารปลอดภัยของประเทศที่ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการอาหารสด และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ตำบลท่าบอน
  2. 2.เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารสดในตำบลท่าบอน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมให้ความรู้ด้านอาหารปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการร้านอาหารสดและอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค
  2. 2. กิจกรรมตรวจสารปนเปื้อนในอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหารสด
  3. ติดตามประเมินผลต่อเนื่องแผงลอยที่จำหน่ายอาหารสด ปีละ 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 36
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย
  2. ร้านจำหน่ายอาหารสด ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย
  3. อาหารในพื้นที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการอาหารสด และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ตำบลท่าบอน
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการอาหารสดและอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคได้รับความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย ร้อยละ 80
0.00 90.00

 

2 2.เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารสดในตำบลท่าบอน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาหารที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารสด ร้อยละ 90
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 36 36
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 36 36
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการอาหารสด และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ตำบลท่าบอน (2) 2.เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารสดในตำบลท่าบอน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้ด้านอาหารปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการร้านอาหารสดและอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค  (2) 2. กิจกรรมตรวจสารปนเปื้อนในอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหารสด (3) ติดตามประเมินผลต่อเนื่องแผงลอยที่จำหน่ายอาหารสด ปีละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาคร บุญนำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด