กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่


“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกาย ”

ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจิรภัทร์ เชาวมาลี นายแพทย์ปฏิบัติการ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศรีบรรพต

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกาย

ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3366-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกาย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3366-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการดำเนินชีวิตของคนไทย ต้องเร่งรีบในการทำกิจวัตรประจำวันซึ่งมีส่วนทำให้lifestyleในการบริโภคอาหาร ต้องใช้บริการอาหารจานด่วน จานเดียว หรือฟาสฟูดส์ ที่ง่ายและรวดเร็ว สะดวกต่อการบริโภคและขาดการออกกำลังกาย ซึ่งรูปแบบการใช้ชีวิตที่เร่งรีบนั้น สามารถนำมาสู่โรคอ้วน และโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ เช่น ภาวะไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคข้อ จากการสำรวจของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า โรคหัวใจและหลอดเลือด ติดอันดับ 1 ใน 3 สาเหตุหลักของการป่วยและตายของ คนไทย ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมามีจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น 3-17 เท่าตัว ที่สำคัญคือ ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดมีอายุเฉลี่ยน้อยลงกว่าในอดีต ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการควบคู่กับการออกกำลังกายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย
จากการคัดกรองโรคเมตาบอลิกของประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลศรีบรรพต ในปี ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐พบว่า ประชากรที่มีภาวะความดันโลหิตสูง อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ ๔๒.๗๑ , ๕๖.๘๐ , ๕๙.๑๐อยู่ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๓๑ , ๗.๘๐ , ๙.๔๖ ประชากรที่มีภาวะเบาหวาน อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๖๕ , ๒๖.๑๘ , ๓๐.๑๐อยู่ในกลุ่มกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ ๑.๘๔ , ๑.๕๘ ,๒.๑๖ และมีภาวะดัชนีมวลกายเกิน คิดเป็นร้อยละ ๔๙.๗๙ , ๔๙.๘๔ , ๔๘.๑๗ จะเห็นได้ว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลศรีบรรพต มีภาวะสุขภาพที่ผิดปกติและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี แต่เนื่องจากเจ้าหน้าที่ไม่สามารถดูแลและติดตามกลุ่มเสี่ยงได้ทั้งหมด จึงต้องมีแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกายเพื่อช่วยเหลือในการดูแลกลุ่มเสี่ยงให้ครอบคลุม
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลศรีบรรพต เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ อสม.บ้านเหรียงงามและบ้านในวัง จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกายเพื่อสร้างแกนนำในการดูแลและติดตามกลุ่มเสี่ยง ชุมชนเกิดเครือข่ายเฝ้าระวังสุขภาพ และส่งเสริมให้ประชาชนมีการปรับพฤติกรรมสุขภาพที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอื่นๆ ตามมา ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมองและหัวใจ เป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกายเพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไป ถ่ายทอดให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้านของตนเองได้
  2. ชุมชนเกิดเครือข่ายเฝ้าระวังสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนานโยบายด้านการจัดการและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพโดยเน้น กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นหลัก
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพชุมชนที่ถูกต้องและเหมาะสม ให้กับแกนนำและสนับสนุนให้แกนนำพัฒนาเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพ จัดการความอ้วนของประชาชนในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกาย สามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้านของตนเองได้
  2. ชุมชนเกิดเครือข่ายเฝ้าระวังสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกายเพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไป ถ่ายทอดให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้านของตนเองได้
ตัวชี้วัด : แกนนำมีความรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 ชุมชนเกิดเครือข่ายเฝ้าระวังสุขภาพ
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายเฝ้าระวังสุขภาพในหมู่บ้าน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกายเพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไป ถ่ายทอดให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้านของตนเองได้ (2) ชุมชนเกิดเครือข่ายเฝ้าระวังสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนานโยบายด้านการจัดการและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพโดยเน้น กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นหลัก (2) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพชุมชนที่ถูกต้องและเหมาะสม ให้กับแกนนำและสนับสนุนให้แกนนำพัฒนาเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพ จัดการความอ้วนของประชาชนในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำเฝ้าระวังด้านอาหารและการออกกำลังกาย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3366-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจิรภัทร์ เชาวมาลี นายแพทย์ปฏิบัติการ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศรีบรรพต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด