กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาวะอนามัยปลอดสารเคมี
รหัสโครงการ 61-L8284-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มเกษตรกรเทศบาลตำบลยะหริ่ง
วันที่อนุมัติ 9 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2561
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเกษตรกรเทศบาลตำบลยะหริ่ง
พี่เลี้ยงโครงการ วรรณพร บัวสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 มิ.ย. 2561 28 มิ.ย. 2561 30,000.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ปัจจุบันที่การดำรงชีวิตของคนไม่ว่าจะในเมืองหรือชนบทที่ต้องมีชีวิตด้วยความเร่งรีบ การทำงานก็มุ่งแต่หาเงินแต่ไม่คำนึงถึงสุขภาพของตัวเองในการดำรงชีวิตที่เร่งรีบทำให้ระบบสุขภาพของคนในชุมชนแปรเปลี่ยนไป เช่นอาการป่่วยเรื้อรังจากสาเหตุของโรคต่างๆ ที่ีเกิดขึ้นจากการใช้สารพิษแลสารเคมีต่างๆ ในการประกอบอาชีพการเกษตรและพฤติกรรมการบริโภคของคนในชุมชนซึ่งขาดความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการบริโภค จึงส่งผลทำให้คนส่วนใหญ่ในชุมชนได้รับผลกระด้านสุขภาพอย่างรุนแรง จึงเป็นเหตุผลที่นำมาสู่การดำเนินโครงการเพื่อสร้างความรู้ความตระหนักของคนในชุมชนและการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆในการพัฒนาระบบสุขภาพของคนในชุมชนอย่างเป็นระบบและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน โดยพัฒนาให้เกิดสภาผู้นำชุมชนที่ต้องมีการประชุมกันทุกเดือนเพื่อเป็นเวทีพูดคุยของผู้นำที่พูดคุยกันทุกเรื่องในการหาทางออกปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน จัดเก็บข้อมูลสถานการณ์ปัญหาเรื่องของสุขภาพและผลกระทบการขับเคลื่อนงานของชุมชน เพื่อให้ได้ข้อมูลด้านสุขภาพในการนำข้อมูลมาขับเคลื่อนในการแก้ปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน และในการแก้ปัญหาก็จะพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ให้กลุ่มต้นแบบ 10 ครัวเรือนต่อชุมชน รู้ในเรื่องกระบวนการผลิตที่ปลอดภัย เกี่ยวกับการผลิตผักสวนครัวให้ปลอดภัยปราดสะจากสารเคมี การบริโภคที่ปลอดภัย จัดการอบรมย์เรียนรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างไรให้สุขภาพแข็งแรง และให้ภาคส่วนร่วมมือปฏิบัติ จัดระบบ แบบเศรษฐกิจพอเพียงเช่นการปลูกผักสวนครัว/ทำเกษตรปลอดสารเคมี-ทำปุ๋ยหมัก-ทำบัญชีครัวเรือน ผลักดันไปสู่การเกิดศูนย์เรียนรู้ชุมชน และเกิดเป็นนโยบายสาธารณะต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

1.00
2 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

28 มิ.ย. 61 จัดอบรมให้ความรู้และจัดทำแปลงสาธิตในแต่ละชุมชนๆละ10ครัวเรือน 30,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครัวเรือนได้บริโภคผักปลอดสารพิษ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ม.ค. 2561 11:45 น.