โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายนัศรุดดีนเจะแน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-4-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2492-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 158,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ้งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกลสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน
สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่
ดังนั้น การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชนบุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคม และปัญญา
เพราะฉะนั้น เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ มีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโกคเคียน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคระกรรมการบริหารกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต่อๆป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ
- เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
- เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การตรวจเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินฝากหรือทรัพย์สินในกองทุนฯ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
23
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถจ่ายค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ
2.สามารถพัฒนาบริหารจัดการงานกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค
วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ NOTEBOOK ASUS K556UR-XX489 จำนวน 1 เครื่อง จาก ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทักษิณ อินโฟเทค นราธิวาส เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2560 กรรมการได้ตรวจรับเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2560
0
0
2. จัดซื้อเครื่องบันทึกเสียง
วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดซื้อครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ เครื่องบันทึกเสียง ยี่ห้อ SONY รุ่น ICD-PX470 ขนาด 4 GB จำนวน 1 เครื่อง จากห้างหุ้นส่วนจำกัด ทักษิณ อินโฟเทค นราธิวาส
0
0
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและค่าลงทะเบียน
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ปี 2560 ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2560 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม ชั้น 8 โรงแรมลีการ์เดน พลาซ่าหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
- อบรมเชิงปฎิบัติการจัดทำแผนงานสุขภาพตำบลและโครงการด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
- แนวทางการดำเนินงานกองทุนดูและระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปี 2560
0
1
4. การจัดทำแผนดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน
วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนได้เรียนรู้ขั้นตอนในการทำแผนชุมชน และรู้ปัญหาด้านสาธารณสุขในพี้นที่ มาแก้ปัญหาและวางแผนการทำแผน
70
70
5. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 6/2559
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 6/2559วันที่1ธันวาคม2559เวลา13.30 น.เพื่อพิจารณาอนุมัติร่างแผนงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียน ประจำปีงบประมาณ 2560และที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบร่างแผนและได้อนุมัติแผนงาน กิจกรรม โครงการ สรุปได้ดังนี้
กิจกรรมประเภทที่ 1งบประมาณในแผนงาน 937,300บาท
กิจกรรมประเภทที่ 2งบประมาณในแผนงาน 397,860บาท
กิจกรรมประเภทที่ 3งบประมาณในแผนงาน 51,320บาท
กิจกรรมประเภทที่ 4งบประมาณในแผนงาน 158,890บาท
กิจกรรมประเภทที่ 5งบประมาณในแผนงาน 150,000บาท
รวมงบประมาณทั้งสิ้น1,695,400บาท
18
18
6. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2559
วันที่ 26 ธันวาคม 2559 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้คัดกรองพิจารณาระเอียดโครงการฯ
5
4
7. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 1/2560
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการได้พิจาณาอนุมัติโครงการตามแผนการดำเนินงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
18
18
8. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2560
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมคัดกรองโครงการ จำนวน 17 โครงการ
6
6
9. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 2/2560
วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- คณะกรรมการได้ทราบรายการรับ จ่ายและยอดเงินคงเหลือของกองทุนฯ ตั้งแต่เดือน มกราคม 2560 -มีนาคม 2560
-คณะกรรมการได้พิจารณาอุนุมัติโครงการ จำนวน 17 โครงการ
18
16
10. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2560
วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อพิจารณาและตรวจสอบโครงการที่จะเสนอให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติ จำนวน 2 โครงการ
5
6
11. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 3/2560
วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 3 ในวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 2 โครงการ ดังนี้
1.โครงการรวมพลคนรักษ์สุขภาพ งบประมาณ 300,000 บาท ให้กับ อบต.โคกเคียน โดยกองสาธารณสุขฯ มติที่ประชุม อนุมัติในหลักการ และกลับไปแก้ไข้
2.โครงการบูรณาการสร้างเสริมสุขภาพจิต งบประมาณ 20,000 บาท ให้กับ กลุ่มหัตกรรมพื้นบ้าน (ฝ่าชีแฟนซี) หมู่ที่ 5 มติที่ประชุมอนุมัติในหลักการให้กลับไปแก้ไขโครงการและนำเข้าในแผนการดำเนินกองทุนฯ ปี2561
18
16
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในปีงบประมาณ 2560 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียน ได้ดำเนินการบริหารจัดการกองทุนฯ ดังนี้
1. จัดทำแผนดำเนินงานของกองทุนฯ ปี 2560 เป็นเงิน 7,535 บาท
2. ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
2.1 ครั้งที่ 6/2559 ผู้เข้าประชุม จำนวน 18 คน เป็นเงิน 7,200 บาท
2.2 ครั้งที่ 1/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 18 คน เป็นเงิน 7,200 บาท
2.3 ครั้งที่ 2/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 16 คน เป็นเงิน 6,400 บาท
2.4 ครั้งที่ 3/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 16 คน เป็นเงิน 6,400 บาท
3. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้
3.1 ครั้งที่ 1/2559 ผู้เข้าประชุม จำนวน 4 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
3.2 ครั้งที่ 1/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 6 คน เป็นเงิน 1,800 บาท
3.3 ครั้งที่ 2/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 6 คน เป็นเงิน 1,800 บาท
4. จัดซืั้อครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ เครื่องบันทึกเสียง ยี่ห้อ SONY รุ่น ICD-PX470 ขนาด 4 GB จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,990 บาท
5. จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ NOTBOOK ASUS K556UR-XX489 จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 20,000 บาท
6. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ จำนวน 1 ครั้ง ดังนี้
6.1 ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการของ นายรุสลัน อารง ตำแหน่ง ประธานกองทุนฯ เป็นเงิน 2,660 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 65,185.-บาท (หกหมื่นห้าพันหนึ่งร้อยแปดสิบห้าบาทถ้วน)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : สามารถจัดซื้อจัดจ้างได้
2
เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ตัวชี้วัด : มีการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาและติดตามงาน จำนวน 8 ครั้ง
3
เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การตรวจเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินฝากหรือทรัพย์สินในกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : มีบัญชีควบคุมการเงินและมีการรายงานการเงินให้คณะกรรมการทราบทุกครั้งที่มีการประชุมของคณะกรรมการฯ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
23
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
23
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ (2) เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ (3) เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การตรวจเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินฝากหรือทรัพย์สินในกองทุนฯ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-4-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายนัศรุดดีนเจะแน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายนัศรุดดีนเจะแน
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-4-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2492-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 158,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ้งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกลสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ ดังนั้น การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชนบุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคม และปัญญา เพราะฉะนั้น เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ มีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโกคเคียน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคระกรรมการบริหารกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต่อๆป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ
- เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
- เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การตรวจเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินฝากหรือทรัพย์สินในกองทุนฯ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 23 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถจ่ายค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ 2.สามารถพัฒนาบริหารจัดการงานกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค |
||
วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ NOTEBOOK ASUS K556UR-XX489 จำนวน 1 เครื่อง จาก ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทักษิณ อินโฟเทค นราธิวาส เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2560 กรรมการได้ตรวจรับเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2560
|
0 | 0 |
2. จัดซื้อเครื่องบันทึกเสียง |
||
วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดซื้อครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ เครื่องบันทึกเสียง ยี่ห้อ SONY รุ่น ICD-PX470 ขนาด 4 GB จำนวน 1 เครื่อง จากห้างหุ้นส่วนจำกัด ทักษิณ อินโฟเทค นราธิวาส
|
0 | 0 |
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและค่าลงทะเบียน |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 1 |
4. การจัดทำแผนดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนได้เรียนรู้ขั้นตอนในการทำแผนชุมชน และรู้ปัญหาด้านสาธารณสุขในพี้นที่ มาแก้ปัญหาและวางแผนการทำแผน
|
70 | 70 |
5. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 6/2559 |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 6/2559วันที่1ธันวาคม2559เวลา13.30 น.เพื่อพิจารณาอนุมัติร่างแผนงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียน ประจำปีงบประมาณ 2560และที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบร่างแผนและได้อนุมัติแผนงาน กิจกรรม โครงการ สรุปได้ดังนี้ กิจกรรมประเภทที่ 1งบประมาณในแผนงาน 937,300บาท กิจกรรมประเภทที่ 2งบประมาณในแผนงาน 397,860บาท กิจกรรมประเภทที่ 3งบประมาณในแผนงาน 51,320บาท กิจกรรมประเภทที่ 4งบประมาณในแผนงาน 158,890บาท กิจกรรมประเภทที่ 5งบประมาณในแผนงาน 150,000บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น1,695,400บาท
|
18 | 18 |
6. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2559 |
||
วันที่ 26 ธันวาคม 2559 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้คัดกรองพิจารณาระเอียดโครงการฯ
|
5 | 4 |
7. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 1/2560 |
||
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการได้พิจาณาอนุมัติโครงการตามแผนการดำเนินงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
|
18 | 18 |
8. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2560 |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมคัดกรองโครงการ จำนวน 17 โครงการ
|
6 | 6 |
9. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 2/2560 |
||
วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 16 |
10. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2560 |
||
วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อพิจารณาและตรวจสอบโครงการที่จะเสนอให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติ จำนวน 2 โครงการ
|
5 | 6 |
11. ประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 3/2560 |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 3 ในวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 2 โครงการ ดังนี้ 1.โครงการรวมพลคนรักษ์สุขภาพ งบประมาณ 300,000 บาท ให้กับ อบต.โคกเคียน โดยกองสาธารณสุขฯ มติที่ประชุม อนุมัติในหลักการ และกลับไปแก้ไข้ 2.โครงการบูรณาการสร้างเสริมสุขภาพจิต งบประมาณ 20,000 บาท ให้กับ กลุ่มหัตกรรมพื้นบ้าน (ฝ่าชีแฟนซี) หมู่ที่ 5 มติที่ประชุมอนุมัติในหลักการให้กลับไปแก้ไขโครงการและนำเข้าในแผนการดำเนินกองทุนฯ ปี2561
|
18 | 16 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในปีงบประมาณ 2560 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียน ได้ดำเนินการบริหารจัดการกองทุนฯ ดังนี้
1. จัดทำแผนดำเนินงานของกองทุนฯ ปี 2560 เป็นเงิน 7,535 บาท
2. ประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้
2.1 ครั้งที่ 6/2559 ผู้เข้าประชุม จำนวน 18 คน เป็นเงิน 7,200 บาท
2.2 ครั้งที่ 1/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 18 คน เป็นเงิน 7,200 บาท
2.3 ครั้งที่ 2/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 16 คน เป็นเงิน 6,400 บาท
2.4 ครั้งที่ 3/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 16 คน เป็นเงิน 6,400 บาท
3. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้
3.1 ครั้งที่ 1/2559 ผู้เข้าประชุม จำนวน 4 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
3.2 ครั้งที่ 1/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 6 คน เป็นเงิน 1,800 บาท
3.3 ครั้งที่ 2/2560 ผู้เข้าประชุม จำนวน 6 คน เป็นเงิน 1,800 บาท
4. จัดซืั้อครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ เครื่องบันทึกเสียง ยี่ห้อ SONY รุ่น ICD-PX470 ขนาด 4 GB จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,990 บาท
5. จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ NOTBOOK ASUS K556UR-XX489 จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 20,000 บาท
6. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ จำนวน 1 ครั้ง ดังนี้
6.1 ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการของ นายรุสลัน อารง ตำแหน่ง ประธานกองทุนฯ เป็นเงิน 2,660 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 65,185.-บาท (หกหมื่นห้าพันหนึ่งร้อยแปดสิบห้าบาทถ้วน)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ ตัวชี้วัด : สามารถจัดซื้อจัดจ้างได้ |
|
|||
2 | เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด : มีการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาและติดตามงาน จำนวน 8 ครั้ง |
|
|||
3 | เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การตรวจเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินฝากหรือทรัพย์สินในกองทุนฯ ตัวชี้วัด : มีบัญชีควบคุมการเงินและมีการรายงานการเงินให้คณะกรรมการทราบทุกครั้งที่มีการประชุมของคณะกรรมการฯ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 23 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 23 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ (2) เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ (3) เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การตรวจเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินฝากหรือทรัพย์สินในกองทุนฯ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โคกเคียนและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-4-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายนัศรุดดีนเจะแน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......