กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยเชิงรุกในชุมชน ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะเสาะ สาแม

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยเชิงรุกในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยเชิงรุกในชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยเชิงรุกในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์ CFGT (3) เพื่อให้ร้านจำหน่ายอาหาร ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ติดต่อประสานร้านอาหาร ร้านชำในชุมชนที่พร้อมเข้าร่วมโครงการในปีนี้ พบว่ามีร้านค้าที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 ร้าน ดังนั้นได้จัดอบรมเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัย และการจัดร้านให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ทีมได้ลงสำรวจและประเมินร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อมอบป้ายสัญลักษณ์ "อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Taste" ของกระทรวงสาธารณสุข ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ..การประชาสัมพันธ์ยังน้อย ทำให้ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอย เข้าร่วมรับการอบรมน้อย แต่ให้ความร่วมมือในการตรวจร้าน และจัดร้านเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ ตามมาตราฐาน อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Tase ของกระทรวงสาธารณสุข แต่ยังทำได้ไม่ดี เนื่องจากเกณฑ์มีความละเอียดมาก ต้องใช้งบประมาณมากในการปรับเปลี่ยนเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ แนวทางแก้ไข ในการจัดโครงการให้มีการทำป้ายประชาสัมพันธ์ ล่วงหน้า อย่างน้อย ๑ เดือน เพื่อให้ผู้ประกอบการได้เตรียมตัวและมีการจัดร้านให้ถูกสุขลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐาน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลได้มีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานอาหารไทย ให้เป็นศูนย์กลางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภิบาลอาหารที่ปลอดภัย และการพัฒนาสุขภาพในแผนพัมนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ปัจจัยพื้นฐานด้านการบริโภคอาหารนับว่ามีความสำคัยอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่หำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อสุขภาพชีวิต การมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่รัฐหรือหน่วยงานทีเกี่ยวข้องต้องให้การดูแล สนับสนุน ควบคุม เฝ้าระวังและป้องกัน ให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหาร ปลอดภัย มีคุณค่าอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ ปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารสด มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรืออาจถึงแก่ชีวิตได้ ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทย พบว่า ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคเป็นอันดับต้นๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน หัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน เป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีการควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะโละแมะนา เล็งเห็นถึงความสำคัญด้านนี้ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้สอดคล้องกับแผนดำเนินงานอาหารปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุข สำหรับใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ ในการดำเนินการรับรองสถานประกอบการจำหน่ายอาหารเพื่อนำไปสู่การมอบป้ายสัญลักษณ์ "อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Taste" ของกระทรวงสาธารณสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์ CFGT
  3. เพื่อให้ร้านจำหน่ายอาหาร ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้บริโภคทั้งภายในตำบลตะโละแมะนาและภายนอกได้รับความปลอดภัย ส่งผลให้ประชาชนในตำบลตะโละแมะนาได้รับความคุ้มครองความปลอดภัยในการบริโภคอาหารอย่างครอบคลุมมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 1. อบรมให้ความรู้อาหารปนเปื้อน ความรู้เรื่องสารตกค้างในอาหาร การเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัย 2. กิจกรรมรณรงค์

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดต่อประสานร้านอาหาร ร้านชำในชุมชนที่พร้อมเข้าร่วมโครงการในปีนี้ พบว่ามีร้านค้าที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน ๕ ร้าน จัดให้มีการอบรมเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัย และการจัดร้านให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ ทางโครงการได้ลงสำรวจและประเมินร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อมอบป้ายสัญลักษณ์ "อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Taste" ของกระทรวงสาธารณสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผู้ประกอบการร้านค้า เข้ร่วมกิจกรรม ร้อยละ ๕๐ -ผู้ประกอบการร้านค้า มีความรู้เพิ่มเติม ร้อยละ ๘๐

     

    100 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ติดต่อประสานร้านอาหาร ร้านชำในชุมชนที่พร้อมเข้าร่วมโครงการในปีนี้ พบว่ามีร้านค้าที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 ร้าน ดังนั้นได้จัดอบรมเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัย และการจัดร้านให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ทีมได้ลงสำรวจและประเมินร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อมอบป้ายสัญลักษณ์ "อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Taste" ของกระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน 1. ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอย เข้าร่วมกิจกรรม เป้าหมาย ร้อยละ 80 ผลงาน 50 2. ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยมีความรู้เพิ่มขึ้น เป้าหมาย ร้อยละ 90 ผลงาน 80 3. ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมาย ร้อยละ 90 ผลงาน 14.28

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารแลพะแผงลอย เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80
    0.00 50.00

     

    2 เพื่อให้ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์ CFGT
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
    0.00 80.00

     

    3 เพื่อให้ร้านจำหน่ายอาหาร ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน
    ตัวชี้วัด : ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90
    0.00 14.28

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์ CFGT (3) เพื่อให้ร้านจำหน่ายอาหาร ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ติดต่อประสานร้านอาหาร ร้านชำในชุมชนที่พร้อมเข้าร่วมโครงการในปีนี้ พบว่ามีร้านค้าที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 ร้าน ดังนั้นได้จัดอบรมเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัย และการจัดร้านให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ทีมได้ลงสำรวจและประเมินร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อมอบป้ายสัญลักษณ์ "อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Taste" ของกระทรวงสาธารณสุข ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ..การประชาสัมพันธ์ยังน้อย ทำให้ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอย เข้าร่วมรับการอบรมน้อย แต่ให้ความร่วมมือในการตรวจร้าน และจัดร้านเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ ตามมาตราฐาน อาหารสะอาด รสชาติอร่อย Clean Food Good Tase ของกระทรวงสาธารณสุข แต่ยังทำได้ไม่ดี เนื่องจากเกณฑ์มีความละเอียดมาก ต้องใช้งบประมาณมากในการปรับเปลี่ยนเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ แนวทางแก้ไข ในการจัดโครงการให้มีการทำป้ายประชาสัมพันธ์ ล่วงหน้า อย่างน้อย ๑ เดือน เพื่อให้ผู้ประกอบการได้เตรียมตัวและมีการจัดร้านให้ถูกสุขลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐาน

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยเชิงรุกในชุมชน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-2986-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเจ๊ะเสาะ สาแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด