กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย อนามัยสมบูรณ์ ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบาดูรียะ เจะอาแว

ชื่อโครงการ โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย อนามัยสมบูรณ์

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4156-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กรกฎาคม 2561 ถึง 20 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย อนามัยสมบูรณ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย อนามัยสมบูรณ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย อนามัยสมบูรณ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4156-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กรกฎาคม 2561 - 20 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมงานอนามัยแม่และเด็กมีความสำคัญมากต่อการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ แต่ละเชื้อชาติ เพราะเป็นการดูแล ส่งเสริม และคุ้มครองป้องกันให้หญิงที่เป็นมารดาสามารถผ่านวิกฤติของการเสี่ยงอันตรายต่อการตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอดไปได้ รวมทั้งจะเป็นการช่วยเหลือทารก หรือเด็กที่เกิดออกมาสามารถเจริญเติบโตไปได้ด้วยดี ตามทิศทางที่ครอบครัวและสังคม หวังไว้ หากงานด้านอนามัยแม่และเด็กดำเนินไปด้วยดี อนาคตข้างหน้า เราจะมีประชากรที่มีคุณภาพเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติ
งานอนามัยแม่และเด็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ และเป็นพื้นฐานของการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ในปัจจุบันนี้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพแม่และเด็ก เป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ การดำเนินงานและการให้บริการกลุ่มแม่และเด็กซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย ยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ปัญหาที่สำคัญของการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก คือการที่หญิงตั้งครรภ์ไม่ตระหนัก ถึงความสำคัญของการมาฝากครรภ์ทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ และฝากครรภ์ตามนัด หรือไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ภาวะทุพโภชนาการของแม่และเด็ก และทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย ทำให้อัตราป่วยและอัตราตายของแม่และเด็กยังสูง จากการรายงานการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กปีงบ 2560 ในเขตตำบลเกะรอ พบว่า อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 70 อัตราการเกิดภาวะโลหิตจางครั้งที่ 2 ร้อยละ 18.66 อัตราการเกิดภาวะโลหิตจาง ใกล้คลอด ร้อยละ 11.23 น้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 13.48 ซึ่งตัวชี้วัดหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 อัตราการเกิดภาวะโลหิตจางครั้งที่ 2 ต้องไม่เกินร้อยละ 10 อัตราการเกิดภาวะโลหิตจาง ใกล้คลอด ต้องไม่เกินร้อยละ 10 น้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม ต้องไม่เกินร้อยละ 7 ตามลำดับ จากปัญหาและความสำคัญดังกล่าวเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ ที่ 3 งานอนามัยแม่และเด็ก จึงได้จัดทำโครงการการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก เพื่อกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ ขณะกำลังคลอดและหลังคลอด
  2. 2. เพื่อส่งเสริมโภชนาการ การกินยาเสริมธาตุเหล็กสำหรับสตรีตั้งครรภ์และหลังคลอด
  3. 3. เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
  4. 4. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดตาม ดูแล อบรมให้ความรู้และสร้างเสริมสุขภาพในสตรีตั้งครรภ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 88
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
  2. ภาวะโลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ น้อยกว่าร้อยละ 10
  3. ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 7

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตาม ดูแล อบรมให้ความรู้และสร้างเสริมสุขภาพในสตรีตั้งครรภ์

วันที่ 19 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้เรื่อง ข้อดี ของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และผลเสียของการฝากครรภ์ล่าช้า
  2. ให้ความรู้เรื่องการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ กำลังคลอดและหลังคลอด
  3. ให้ความรู้ความสำคัญเกี่ยวกับสถาบันครอบครัว
  4. ติดตามการกินยาเสริมธาตุเหล็กและค้าหาหญิงตั้งครรภ์กรณีขาดนัด และมาฝากครรภ์ใน รพ.สต. 5.คัดกรอง Hct ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ต้องการมีบุตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ ขณะกำลังคลอดและหลังคลอด ส่งเสริมโภชนาการ สำหรับสตรีตั้งครรภ์และหลังคลอดและได้รับการติดตาม ดูแล อบรมให้ความรู้และสร้างเสริมสุขภาพ

 

88 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ ขณะกำลังคลอดและหลังคลอด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมโภชนาการ การกินยาเสริมธาตุเหล็กสำหรับสตรีตั้งครรภ์และหลังคลอด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 88
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 88
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ ขณะกำลังคลอดและหลังคลอด (2) 2. เพื่อส่งเสริมโภชนาการ การกินยาเสริมธาตุเหล็กสำหรับสตรีตั้งครรภ์และหลังคลอด (3) 3. เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตาม ดูแล อบรมให้ความรู้และสร้างเสริมสุขภาพในสตรีตั้งครรภ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย อนามัยสมบูรณ์ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4156-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวบาดูรียะ เจะอาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด