กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร


“ โครงการถนนคนเดิน : ถนนสุขภาพดีด้วยแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลรัตภูมิ ปี 2561 ”

ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์สุวิทย์ คงชูช่วย

ชื่อโครงการ โครงการถนนคนเดิน : ถนนสุขภาพดีด้วยแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลรัตภูมิ ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L8020-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการถนนคนเดิน : ถนนสุขภาพดีด้วยแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลรัตภูมิ ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการถนนคนเดิน : ถนนสุขภาพดีด้วยแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลรัตภูมิ ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการถนนคนเดิน : ถนนสุขภาพดีด้วยแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลรัตภูมิ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L8020-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี สิ่งสำคัญที่สุดและเป็นหัวใจหลัก คือ การส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ในการป้องกันการเจ็บป่วย และเมื่อมีอาการเจ็บป่วยในระยะเริ่มแรกสามารถดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง ประชาชนจำนวนไม่น้อยเริ่มหันมาให้ความสนใจในเรื่องการใช้ยาสมุนไพรการนวดการอบและการประคบเพื่อรักษาโรค รัฐบาลได้ส่งเสริมให้มีการจัดบริการการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการสาธารณสุข โดยมีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นให้ประชาชนหันมาใช้วิธีการทางธรรมชาติในการดูแลรักษาสุขภาพ ลดการพึ่งยาสังเคราะห์ให้น้อยที่สุด และเพื่อประชาสัมพันธ์การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกรณรงค์และกระตุ้นให้ประชาชนเห็นถึงความสำคัญและคุณค่าของภูมิปัญญาไทยด้านต่างๆ โดยการให้คำแนะนำ คำปรึกษา ในการดูแลสุขภาพตามวิธีทางการแพทย์แผนไทย เช่น การให้บริการตรวจ และรักษาโรคด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย , การนวดเพื่อการผ่อนคลาย/นวดเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด การใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวัน การรับประทานพืชผักสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการรักษาหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยที่ไม่รุนแรงเพื่อความปลอดภัยและลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ทั้งนี้การดำเนินการดังกล่าวให้ประสบผลสำเร็จ จะต้องอาศัยความร่วมมือของบุคลากรสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานราชการต่าง ๆเป็นต้น เพื่อให้เกิดการดูแลแบบองค์รวม ครอบคลุมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณรวมทั้งสอดคล้องกับหลักศาสนา ภูมิปัญญา ความเชื่อ และวัฒนธรรมท้องถิ่น งานถนนคนเดินนับว่าเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นงานหนึ่ง ที่มีการจัดมาต่อเนื่องหลายปีและได้รับความสนใจจากประชาชนจำนวนหนึ่งกิจกรรมหนึ่งที่ได้รับความสนใจจากประชาชน คือ กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลรัตภูมิจึงได้จัดทำโครงการ “ถนนคนเดิน : ถนนสุขภาพดีด้วยแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลรัตภูมิ ปี 2561”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนรู้จักและ เข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทย
  2. ข้อที่ 2เพื่อให้ประชาชนได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย
  3. ข้อที่ 3เพื่อประชาสัมพันธ์บริการ, เผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน รวมทั้งกระตุ้นและเสริมสร้างเจตคติที่ดีด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพ โดยระบบบริการการแพทย์แผนไทย รพ.รัตภูมิบริเวณงานถนนคนเดิน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 700
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนได้รู้จักและเลือกใช้บริการแพทย์แผนไทย 2.ประชาชนได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย
  2. ประชาชนได้รับความรู้ด้านแพทย์แผนไทยและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพ โดยระบบบริการการแพทย์แผนไทย รพ.รัตภูมิบริเวณงานถนนคนเดิน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพ โดยระบบบริการการแพทย์แผนไทย รพ.รัตภูมิบริเวณงานถนนคนเดิน กิจกรรมที่ 1 บริการตรวจรักษาด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย จ่ายยาสมุนไพร พอกเข่า นวดรักษาคอบ่าไหล่ นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ (มีเจ้าหน้าที่งานแพทย์แผนไทย มาร่วมกิจกรรม วันละ 5 คน) กิจกรรมที่ 2 บริการน้ำดื่มสมุนไพรและความรู้เรื่องสรรพคุณของน้ำสมุนไพรในแต่ละวัน
กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย สาธิตการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ยาดมสมุนไพร ,ลูกประคบสมุนไพร) เกมตอบคำถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.จำนวนผู้เข้าชมนิทรรศการและรับบริการ ทั้งหมด ๑,๐๒๐ คน จำแนกเป็นจำแนกเป็น เพศหญิง ๖๕๒ คน (ร้อยละ๖๓.๙๒) เพศชาย ๓๖๘ คน (ร้อยละ๓๖.๐๗) อาชีพที่มารับบริการมากที่สุด ๓ ลำดับแรก คือ ข้าราชการ รองลงมาคือรับจ้าง และ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เป็นผู้ที่เคยรับการรักษาด้วยแพทย์แผนไทย ๗๒๒ คน (ร้อยละ ๗๑.๓๗)
๒. จำนวนผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย จ่ายยาสมุนไพร พอกเข่า นวดรักษาคอบ่าไหล่ นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ จำนวน ๒๑๖ คน (ร้อยละ ๒๑.๑๗ ) ช่วงอายุที่มารับบริการมากที่สุด        ๓ อันดับแรก คือ ผู้ที่มีอายุระหว่าง ๓๐ – ๔๐ ปี รองลงมาคืออายุระหว่าง ๔๐ – ๕๐ ปีและอายุระหว่าง ๕๐ ปีขึ้นไป   จำแนกตามประเภทการรับบริการ ดังนี้ - นวดคอบ่าไหล่,นวดฝ่าเท้า จำนวน ๑๒๘ คน (ร้อยละ ๕๙.๒๕) - ประคบสมุนไพร จำนวน ๕๖ คน (ร้อยละ ๒๕.๙๒) - พอกเข่าด้วยสมุนไพร จำนวน ๓๒ คน (ร้อยละ ๑๔.๘๑) - รักษาด้วยยาสมุนไพร จำนวน ๑๐๕ คน (ร้อยละ ๑๐.๒๙) - ผู้เข้าร่วมชมนิทรรศการ ,รับบริการน้ำดื่มสมุนไพร จำนวน ๑,๐๒๐ คน (ร้อยละ ๑๐๐)
- สาธิตการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ยาดมสมุนไพร ,ลูกประคบสมุนไพร) แจกยาดมสมุนไพร              จำนวน ๓๐๐ คน (ร้อยละ ๒๙.๔๑) - แจกแผ่นพับ สมุนไพรใกล้ตัว/ท่าบริหารร่างกาย/วิธีทำลูกประคบ จำนวน ๓๐๐ ใบ (ร้อยละ ๒๙.๔๑) ๓. ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการแพทย์แผนไทย สำรวจเฉพาะผู้ที่รับบริการตรวจรักษาด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย จ่ายยาสมุนไพร พอกเข่า นวดรักษาคอบ่าไหล่ นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ทั้งหมด ๒๑๖ คน

 

700 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.จำนวนผู้เข้าชมนิทรรศการและรับบริการ ทั้งหมด ๑,๐๒๐ คน จำแนกเป็นจำแนกเป็น เพศหญิง ๖๕๒ คน (ร้อยละ๖๓.๙๒) เพศชาย ๓๖๘ คน (ร้อยละ๓๖.๐๗) อาชีพที่มารับบริการมากที่สุด ๓ ลำดับแรก คือ ข้าราชการ รองลงมาคือรับจ้าง และ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เป็นผู้ที่เคยรับการรักษาด้วยแพทย์แผนไทย ๗๒๒ คน (ร้อยละ ๗๑.๓๗)
๒. จำนวนผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย จ่ายยาสมุนไพร พอกเข่า นวดรักษาคอบ่าไหล่ นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ จำนวน ๒๑๖ คน (ร้อยละ ๒๑.๑๗ ) ช่วงอายุที่มารับบริการมากที่สุด        ๓ อันดับแรก คือ ผู้ที่มีอายุระหว่าง ๓๐ – ๔๐ ปี รองลงมาคืออายุระหว่าง ๔๐ – ๕๐ ปีและอายุระหว่าง ๕๐ ปีขึ้นไป   จำแนกตามประเภทการรับบริการ ดังนี้ - นวดคอบ่าไหล่,นวดฝ่าเท้า จำนวน ๑๒๘ คน (ร้อยละ ๕๙.๒๕) - ประคบสมุนไพร จำนวน ๕๖ คน (ร้อยละ ๒๕.๙๒) - พอกเข่าด้วยสมุนไพร จำนวน ๓๒ คน (ร้อยละ ๑๔.๘๑) - รักษาด้วยยาสมุนไพร จำนวน ๑๐๕ คน (ร้อยละ ๑๐.๒๙) - ผู้เข้าร่วมชมนิทรรศการ ,รับบริการน้ำดื่มสมุนไพร จำนวน ๑,๐๒๐ คน (ร้อยละ ๑๐๐)
- สาธิตการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ยาดมสมุนไพร ,ลูกประคบสมุนไพร) แจกยาดมสมุนไพร              จำนวน ๓๐๐ คน (ร้อยละ ๒๙.๔๑) - แจกแผ่นพับ สมุนไพรใกล้ตัว/ท่าบริหารร่างกาย/วิธีทำลูกประคบ จำนวน ๓๐๐ ใบ (ร้อยละ ๒๙.๔๑) ๓. ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการแพทย์แผนไทย สำรวจเฉพาะผู้ที่รับบริการตรวจรักษาด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย จ่ายยาสมุนไพร พอกเข่า นวดรักษาคอบ่าไหล่ นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ทั้งหมด ๒๑๖ คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนรู้จักและ เข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย จำนวน 100 คนต่อวัน
0.00 145.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อให้ประชาชนได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3เพื่อประชาสัมพันธ์บริการ, เผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน รวมทั้งกระตุ้นและเสริมสร้างเจตคติที่ดีด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจของ ร้อยละ 80
0.00 99.99

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 700
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 700
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ประชาชนรู้จักและ เข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทย  (2) ข้อที่ 2เพื่อให้ประชาชนได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของตนเองด้วยการแพทย์แผนไทย  (3) ข้อที่ 3เพื่อประชาสัมพันธ์บริการ, เผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชน รวมทั้งกระตุ้นและเสริมสร้างเจตคติที่ดีด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพ โดยระบบบริการการแพทย์แผนไทย รพ.รัตภูมิบริเวณงานถนนคนเดิน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการถนนคนเดิน : ถนนสุขภาพดีด้วยแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลรัตภูมิ ปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L8020-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแพทย์สุวิทย์ คงชูช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด