กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ พัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการในตลาดสด ประจำปี 2561
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ งานสุขาภิบาลอาหาร กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 1 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 113,360.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางทรงสิริ มะนีวัน
พี่เลี้ยงโครงการ นางกัลยาเอียวสกุล
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการได้จัดทำโครงการการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อนประจำปี 2559 ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซึ่งดำเนินกิจกรรมที่ตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี ทั้ง 2 แห่ง ได้แก่ ตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี ถนนยะรัง และตลาดเทศวิวัฒน์ 1 ที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลตลาด เนื่องจากผู้ประกอบการในตลาดสด ไม่ปฏิบัติการตามหลักสุขาภิบาลที่ถูกต้อง จากการวิเคราะห์ตัวอย่างอาหารทางด้านเคมี 390 ตัวอย่าง พบสารปนเปื้อน 60 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 15.4 ไม่พบสารปนเปื้อน 330 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 84.6 จากข้อมูลรายงานผล งานระบาดวิทยา เมื่อวันที่ 1 มกราคม – 4 พฤศจิกายน 2560.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี พบผู้ป่วยที่เป็นโรคอุจจาระร่วง 958 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 767.97 ต่อประชากรแสนคน โรคบิดรวม (05,06) 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2.40 ต่อประชากรแสนคน โรคอาหาร เป็นพิษ 48 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 38.48 ต่อประชากร ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ผู้ประกอบการขาดความตระหนักในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร นอกจากนี้ผู้ประกอบการในตลาดสดมีการใช้ภาชนะโฟมในการบรรจุอาหาร ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค ฉะนั้นการจัดการควบคุมและป้องกันอาหารให้สะอาดปลอดภัย จึงต้องมีการควบคุมปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้สกปรกได้แก่ ปัจจัยที่ 1 บุคคล ปัจจัยที่ 2 อาหาร ปัจจัยที่ 3 ภาชนะอุปกรณ์ ปัจจัยที่ 4 สถานที่ และปัจจัยที่ 5 สัตว์ แมลงนำโรค
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการในตลาดสด ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร เป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสมอันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปราศจากสารปนเปื้อนและสะอาดปลอดภัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,000.00 0 0.00
??/??/???? จัดอบรมผู้ประกอบการในตลาดสด 0 30,000.00 -
  1. สำรวจข้อมูลผู้ประกอบการที่ใช้ภาชนะโฟมในการบรรจุอาหาร
    1. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข่าวสาร ให้แก่กลุ่มเป้าหมายและประชาชนทั่วไปได้รับทราบ
    2. จัดอบรมผู้ประกอบการในตลาดสด จำนวน 300 คน โดยมีการจัดอบรม 2 วัน วันละ 150 คน
    3. ลงเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจสารปนเปื้อน
    4. ประเมินแผงจำหน่ายในตลาดสดตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหาร
    5. ประกวดแผงจำหน่ายตามเกณฑ์ในการประกวดโดยใช้ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารสำหรับแผงจำหน่าย 7.รายงานผลการปฏิบัติ ประเมินและสรุปผลการดำเนินงาน 8.ติดตามผลการดำเนินงานโครงการ ตามขั้นตอนและรูปแบบที่กำหนด
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ด้านสุขภาพที่ดีเพิ่มขึ้น
  2. ผู้เข้าอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพกับการลดใช้โฟมบรรจุอาหาร
  3. สามารถลดปริมาณขยะจากโฟมได้ในระดับหนึ่ง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ม.ค. 2561 13:45 น.