กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้และจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้และจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้และจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้และจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้และจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคมโดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชนร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพโดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนนอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้วยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพและส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเองทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วงกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ได้จัดตั้งเมื่อปีงบประมาณ 2551 ตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 ซึ่งได้กำหนดให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการกองทุนฯ และให้มีสิทธิ์เข้าถึงบริการ การตรวจสอบและรับรองคุณภาพบริการ ซึ่งนอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมแล้ว ยังสนับสนุนการให้ประชาชนได้มีบทบาทพึ่งตนเองด้านสุขภาพส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้าร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆที่มีผลกระทบต่อสุขภาพให้ลุล่วง ซึ่งในทุกๆปีจะต้องมีการปรับกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนงานสำหรับการวางแผน โดยใช้เครื่องชี้วัด โดยชุมชน หรือองค์กรในแง่มุมต่างๆ เพื่อสื่อให้ผู้ที่มีส่วนได้เสียและบุคลากรได้ทราบและสามารถดูความสำเร็จด้วยการวัดผลการปฏิบัติในปีที่ผ่านมา เพื่อตัดสินใจที่ถูกต้องในด้านปรับการทำงาน เพื่อนำไปสู่การตั้งงบประมาณในแผนปฏิบัติงานโครงการ/กิจกรรมและเพื่อช่วยให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าวนั้นขับเคลื่อนงานอย่างเป็นระบบและเกิดผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลการทบทวนความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงานจากหนังสือสั่งการหรือระเบียบใหม่ๆตลอดถึงการคืนข้อมูลจากผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ผ่านมาเพื่อมาปรับปรุงปัญหาและแก้ไขเพื่อนำไปสู่จัดทำแผนการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2561จากการดำเนินงานกองทุนฯที่ผ่านมา ปัญหาที่พบมากที่สุด คือการการวางแผนงานไม่ตรงกับปัญหาของชุมชนหรือความต้องการของประชาชนการจัดทำแผนทำโดยเน้นให้เกิดจากประชาชนในพื้นที่ทุกกลุ่มเป้าหมาย ทำให้แผนงานโครงการ/กิจกรรมที่ได้สามารถตอบสนองความต้องการของชุมชนทำให้เกิดประโยชน์กับพื้นที่ตลอดจนเกิดความมีส่วนร่วมและนำไปสู่ความยั่งยืนและการมีระบบที่มั่นคงและมีเสถียรภาพของกองทุนฯทำให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายสูงสุด กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าวได้เล็งเห็นถึงปัญหาและความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้และจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2561เพื่อเป็นการวางแผนนำกองทุนไปสู่ภาพลักษณ์ใหม่ก้าวสู่วิสัยทัศน์ที่ต้องการในอนาคตเป็นกรอบในการกำหนดทิศทางการพัฒนาของกองทุนให้มุ่งสู่ความเป็นเลิศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเป็นแนวทางในการค้นหาข้อมูลในพื้นที่เพื่อนำไปสู่การวางแผนงานให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาชุมชนทำให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้ทุกภาคส่วนทราบถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการดำเนินกิจกรรมของกองทุนฯ เพื่อให้การขับเคลื่อนงานกองทุนเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีระบบ 3. เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่อง พรบ. ระเบียบ ประกาศ ตามคู่มือการปฏิบัติงานที่กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด 4. จุดประกายความคิดเพื่อนำไปสู่การสร้างนวตกรรมใหม่ที่ช่วยให้การดำเนินงานในพื้นที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 45

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถเป็นแนวทางในการจัดทำแผนงานโครงการ/กิจกรรมกองทุน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
      1. สามารถสร้างแนวทางในการขับเคลื่อนงานกองทุนให้มีระบบมากขึ้น
      2. ทำให้คณะทำงานมีองค์ความรู้ที่จะสามารถนำมาใช้ในการดำเนินงานกองทุนฯมากขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเ้าหมายเข้าร่วมประชุมตามจำนวนที่กำหนด และทุกท่านมีความรู้ที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินงานกองทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดระเบียบ และหนังสือสั่งการ เกี่ยวกับการดำเนินงานกองทุนฯ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเป็นแนวทางในการค้นหาข้อมูลในพื้นที่เพื่อนำไปสู่การวางแผนงานให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาชุมชนทำให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้ทุกภาคส่วนทราบถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการดำเนินกิจกรรมของกองทุนฯ เพื่อให้การขับเคลื่อนงานกองทุนเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีระบบ 3. เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่อง พรบ. ระเบียบ ประกาศ ตามคู่มือการปฏิบัติงานที่กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด 4. จุดประกายความคิดเพื่อนำไปสู่การสร้างนวตกรรมใหม่ที่ช่วยให้การดำเนินงานในพื้นที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 45

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเป็นแนวทางในการค้นหาข้อมูลในพื้นที่เพื่อนำไปสู่การวางแผนงานให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาชุมชนทำให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้ทุกภาคส่วนทราบถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการดำเนินกิจกรรมของกองทุนฯ เพื่อให้การขับเคลื่อนงานกองทุนเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีระบบ 3. เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่อง พรบ. ระเบียบ ประกาศ ตามคู่มือการปฏิบัติงานที่กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด 4. จุดประกายความคิดเพื่อนำไปสู่การสร้างนวตกรรมใหม่ที่ช่วยให้การดำเนินงานในพื้นที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้และจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด