กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ส่วนที่ 3 แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ (สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงาน) โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. น้อย เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. น้อย เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน            ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ อสม.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน และลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดยมีการดำเนินโครงการในวันอาทิตย์ ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2561 ทั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวนทั้งสิ้น 73 คน สำหรับผลการดำเนินจัดโครงการสรุปได้ดังนี้ 1.1 การประเมินความรู้จากแบบทดสอบความรู้ ก่อน-หลัง อบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออกภัยร้าย ใกล้ตัวคุณ ผู้จัดทำโครงการได้จัดทำแบบทดสอบเพื่อประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบทดสอบประเมินความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ซึ่งผลสรุปจากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังดังนี้ การทดสอบความรู้ คะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด คะแนนค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ก่อน                     10         9                 2             5.2             56 หลัง                     10       10                 7             8.7             92
ผลการประเมินความรู้ก่อนอบรมให้ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 56 และผลการประเมินความรู้หลังอบรมให้ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 92 ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้หลังการอบรมให้ความรู้เพิ่มมากขึ้น 1.2 การประเมินผลการลดลงของแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายจากการเดินรณรงค์สำรวจลูกน้ำ      ของ อสม.น้อย หลังทำโครงการ ในการจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. น้อย เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 73 คน โดยมีกิจกรรมการเดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย จึงได้มีการประเมินผลจากค่า HI CI และ BI ซึ่งผลจากการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายก่อนและหลังทำโครงการดังนี้

ระยะการสำรวจ จำนวนหลังคาเรือนที่สำรวจ จำนวนภาชนะที่สำรวจ จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำ จำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำ ค่า HI ค่า CI ค่า BI ก่อนทำโครงการ 24 89 19 32 79.16 35.95 133.33 หลังทำโครงการ 24 89 6 6 25 6.74 25 ผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายก่อนทำโครงการพบว่ามีค่า HI เท่ากับ 79.16 ค่า CI เท่ากับ 35.95 และค่า BI เท่ากับ 133.33 และหลังทำโครงการพบว่า มีค่า HI เท่ากับ 25 ค่า CI เท่ากับ 6.74
และค่า BI เท่ากับ 25 สรุปได้ว่าผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายหลังทำโครงการลดลง 1.3 ผลจากการทำแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อย  เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จำนวน 70 ชุด ดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ความพึงพอใจ ระดับความพึงใจ

                                  มากที่สุด (5)    มาก (4)    ปานกลา ง(3) น้อย  (2)             น้อยที่สุด (1)             ค่า( x ̅ )                     แปลผล

สถานที่จัดกิจกรรม                   58                10              2                    0                      0                            4.80                      มากที่สุด ความพร้อมในการจัดกิจกรรม              49                19              2                    0                        0                            4.67                      มากที่สุด ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม                49                19              2                    0                        0                            4.67                      มากที่สุด
การบริการอาหาร และเครื่องดื่ม          47                22              1                    0                        0                            4.65                      มากที่สุด
วิทยากรอบรมให้ความรู้                   56                13              1                    0                        0                            4.78                      มากที่สุด
กิจกรรมนันทนาการ                   62                8                0                    0                        0                            4.88                      มากที่สุด
ความประทับใจที่ได้เข้าร่วมโครงการ   51                15              4                    0                        0                            4.67                      มากที่สุด ภาพรวมของกิจกรรมทั้งหมด           60                21              4                    0                        0                            4.82                      มากที่สุด
เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย         แปลค่า 4.51 – 5.00 มากที่สุด 3.51 – 4.50 มาก 2.51 – 3.50 ปานกลาง 1.51 – 2.50 น้อย 1.00 – 1.50 น้อยที่สุด

สรุปผล จากแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.น้อย เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ    พ.ศ. 2561 คิดเป็น 4.61 อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด และคิดเป็น 4.50 อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด
3) รายละเอียดโครงการ ปัญหา/ อุปสรรค (ระบุ)
การประสานงานในการดำเนินกิจกรรมเกิดความล่าช้าและขาดการประสานงานร่วมกัน ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน กลุ่ม อสม.ควรมีการจัดทำ Line หรือสื่อออนไลน์เพื่อสะดวกในการประสานงานในการดำเนินการ

                                                                ( นางสาวจำลองลักษณ์ ทองส่งโสม ) ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3


ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ อสม. น้อยจำนวน 70 คน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกวิธีและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : อสม.น้อยมีความรู้ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสมร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่2 เพื่อให้ อสม.น้อยจำนวน 70 คน กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : อสม.น้อยจำนวน 70 คน สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้
0.00

 

3 ข้อที่ 3เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชมหมู่ที่ 3 ค่า HI,CI มีค่าเท่ากับ 0
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ อสม. น้อยจำนวน 70 คน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกวิธีและเหมาะสม (2) ข้อที่2 เพื่อให้ อสม.น้อยจำนวน 70 คน กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้ (3) ข้อที่ 3เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพํมนาศักยภาพ อสม.น้อย เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน ประจำปีงบประมาณ 2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh