กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
วไลพร จันทรมณี

ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญได้แก่โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นกลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องอีกทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังดังกล่าวเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาอันมีเหตุจากปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัยได้แก่พฤติกรรมวิถีชีวิตสิ่งแวดล้อมการสูบบุหรี่การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ตลอดจนการขาดการออกกำลังกายทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาเช่นไตวายโรคหลอดเลือดสมองอัมพฤกษ์อัมพาตจอประสาทตาเสื่อมผู้ป่วยบางรายต้องถูกตัดเท้าซึ่งภาวะดังกล่าวเป็นสิ่งที่สามารถป้องกันชะลอและลดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวได้ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยคงความรู้สึกการเป็นมนุษย์ลดการสูญเสียอวัยวะและภาวการณ์เสียสมดุลเป็นภาระให้กับครอบครัวลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคได้มากยิ่งขึ้นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีอาการรุนแรงขึ้นทีละน้อย หากไม่ได้รับการรักษาควบคุม องค์การอนามัยโรคเล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDsนั้นถือว่าเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆสังเกตจากสถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรคNCDs ในปีพ.ศ.2552พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึงร้อยละ 63 ที่เกิดจากกลุ่มโรค NCDsและที่สำคัญกว่านั้นคือกว่าร้อยละ 80 เป็นประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา สถิติโลก องค์การอนามัยโรคได้ทำนายไว้ว่าในปีพ.ศ.2573ประชากรโลกจำนวน 23 ล้านคนจะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โดยร้อยละ 85 อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา ประชากรโลกเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจถึง17 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ48 ของการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อทั้งหมด รองลงมาคือโรคมะเร็ง ร้อยละ 21 โรคถุงลมโป่งพอง รวมโรคปอดเรื้อรังรวมโรคปอดเรื้อรังและหอบหืดร้อยละ ( 4.2 ล้านคน ) และโรคเบาหวานร้อยละ 4 (1.3 ล้านคน )( พรพิศ เรืองขจร, 2560 ) สถิติประเทศไทย ประเทศไทยมีภาระจากกลุ่มโรค NCDs ในสัดส่วนที่สูงกว่านานาชาติ โดยสาเหตุของการเสียชีวิตถึง 3000, 000 กว่ารายปี พ.ศ. 2552 คิดเป็นร้อยละ 73 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีสถิติการเสียชีวิตและผลกระทบจากกลุ่มโรค NCDs มากกว่าทั้งโลก ผลการสำรวจในปีพ.ศ. 2552 กับกลุ่มเป้าหมายประชากรไทยวัยผู้ใหญ่ พบว่าร้อยละ21.4 เป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 6.9 ( 3.2 ล้านคน ) มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง โดยเฉพาะประชากรชายที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง พบว่าร้อยละ 56.7 ที่รู้ตัวและมีเพียงร้อยละ27.1 ที่สามารถควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 19.4 หรือเกือบ 9 ล้านคน มีภาวะไขมันในเลือดสูง โดยผู้หญิงมีความชุกมากกว่าผู้ชาย ข้อมูลสำรวจสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของคนไทยที่อายุ 15 ปีขึ้นไป ยังพบว่ามีสัดส่วน ผู้ที่เป็นโรคอ้วนในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา ในเพศชายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ( ปีพ.ศ.2535-2552 ) ถึง 4 เท่า โรคกลุ่มนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโลกาภิวัตน์ส่งผลต่อวิถีชีวิตอาหารที่ไม่มีคุณภาพการขาดการออกกำลังกายทำให้เกิดความดันโลหิตสูงขึ้นระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น ไขมันในเลือดสูงและโรคอ้วน สิ่งเหล่านี้ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงในการเผาผลาญอาหารที่อาจนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งอาจนำไปสู่การเสียชีวิตก่อนวัยอันควร

จากข้อมูลศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชนโพธิพงษา พบว่าในปีงบประมาณ2560 มีผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการจำนวน123 คนผลการดำเนินงานพบว่า มีผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี HbA1c > 7 คิดเป็นร้อยละ 59.34 จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาโดยการสอบถามตัวต่อตัว โดยพยาบาลที่ดูแลคลินิคเบาหวาน พบว่าส่วนใหญ่ยังขาดความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับประทานอาหาร การปฏิบัติตัวที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ทางทีมสหวิชาชีพจึงเล็งเห็นว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญในการควบคุมระดับน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ปกติ จะส่งผลป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานตามมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน การรับประทานอาหาร การดูแลตนเองตนเองอย่างเหมาะสม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในกิจกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการฝึกอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม 2.ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยลดลง 3.ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถอยู่ในสังคม ได้อย่างปกติสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการฝึกอบรมให้ความรู้

วันที่ 22 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมกลุ่มเป็นฐาน 4 ฐาน ฐานที่ 1 การจัดอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก3อ.2ส.ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ด้วยกิจกรรมตามหลัก 3อ.2ส. ฐานที่ 2 การให้ความรู้เรื่องอาหาร อาหารแลกเปลี่ยน ฐานที่ 3 การออกกำลังกาย ฐานที่ 4 การใช้ยา โดยลักษณะกิจกรรมในแต่ละฐานได้แก่ 1. แลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมายแต่ละคนในการใช้ชีวิต 2. วิธีการคุมน้ำตาลของแต่ละคน 3. ผู้ป่วยตัวอย่างที่สามารถคุมน้ำตาลได้ดี 4. การให้ความรู้โดยทีมสหวิชาชีพประจำฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ป่วยกลุ่มโรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม
  2. ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยลดลง
  3. ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถอยู่ในสังคม ได้อย่างปกติสุข

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน การรับประทานอาหาร การดูแลตนเองตนเองอย่างเหมาะสม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในกิจกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน การรับประทานอาหาร การดูแลตนเองตนเองอย่างเหมาะสม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3 อ. 2 ส.  (2) กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในกิจกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการฝึกอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( วไลพร จันทรมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด