โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-01-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมถือเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีประเทศไทย เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะมะเร็งปากมดลูกพบมากอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรีถึง 3 คน ในประชากรหนึ่งแสนคนในแต่ละปี ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ประมาณ 4500 ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ 30-50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ Pap Smear แม้การตรวจมะเร็งปากมดลูกจะง่าย สะดวก ราคาถูกแต่ยังพบสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจคัดกรอง ส่วนมะเร็งเต้านมผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น การรักษามะเร็งเต้านมปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมาก การค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้และรักษาอาจทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออก ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทั้งเต้านม สถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง มีจำนวน 6 ราย แยกเป็นมะเร็งปากมดลูก 2 ราย มะเร็งเต้านม 4 ราย สำหรับการตรวจคัดกรองในปีงบประมาณ 2560 มีสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี จำนวน 753 คน ได้รับการคัดกรองไปแล้ว พ.ศ.2558-2559 จำนวน 350 คน เหลือกลุ่มเป้าหมายอีก 403 คน ในแต่ละปีมีการตัั้งเป้าหมายให้มีผู้เข้ารับบริการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการคัดเลือก คือ จำนวน 150 คน ในส่วนของมะเร็งเต้านมมีสตรีกลุ่มเป้าหมาย 30-70 ปี จำนวน 862 ราย ได้รับการคัดกรองแล้วปี 2558-2559 จำนวน 152 ราย ซึ่งกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เหล่านี้จำเป็นต้องได้รับบริการเสริมสร้างความรู้เพื่อให้เกิดความตระหนักในการเข้ารับบริการคัดกรองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักและหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อหลีกเลี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้พบในระยะเริ่มแรกและลดอัตราการเกิดโรคในระยะรุนแรง
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายตระหนักและเห็นความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2.มีความรู้ในเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ระยะเวลา 2 วัน(เฉพาะช่วงบ่าย) แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 75 คน
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560กิจกรรมที่ทำ
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 รุ่นๆละครึ่งวัน 150 คนๆ ละ1 มื้อๆ 25 บาท เป็นเงินจำนวน 3750 บาท
- ค่าวิทยากรจำนวน 6 ซม.ๆละ 300 บาาทเป็นเงินจำนวน 1800 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรมให้ความรู้ จำนวน 150 ชุด ๆละ 27 บาท เป็นเงินจำนวน 4050 บาท
-ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ผืน ขนาด 1*2 เมตร เป็นเงินจำนวน 400 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายที่เข้ามารับการอบรม มีความรู้เพิ่ามมากขึ้น ร้อยละ 79.50
กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งเต้าม ร้อยละ 80.30
กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 42.40
พบกลุ่มเป้าหมายมีความผิดปกติ จำนวน 1 ราย และได้มีกดารส่งต่อไปโรงพยาบาล 1 ราย
ปี 2560 ไม่มีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต
150
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงการเรียนรู้รับมือสู้มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย คือ สตรีอายุ 30 - 60 ปี ในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง โดยเชิญนาง สุภาพร อินทรสมบัติ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สังกัดสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขาชัยสน มาเป็นวิทยากรให้ความรู้ ซึ่งกลุ่มเป้าหมา จำนวน 150 คน ที่เข้าอบรม ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมูดลูกและมะเร็งเต้านม และ ไดัชมการสาธิตการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และจากการประเมินผลลัพธ์ตามตัวชย้วัด พบว่า
กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม มีความรู้เพิ่มมมากขึ้น ร้อยละ 79.50
กลุ่มเป้าหมายได้รรับการตรวจคัดครองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80.30
กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 42.40
พบกลุ่มาเป้าหมายมีความผิดปกติ จำนวน 1 ราย และได้รับการส่งต่อไปฏรงพยาบาล 1 ราย
ปี 2560 ไม่มีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักและหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อหลีกเลี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความตระหนักเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70
70.00
2
เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้พบในระยะเริ่มแรกและลดอัตราการเกิดโรคในระยะรุนแรง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองตามเกณฑ์ ร้อยละ 60 รวมทั้งผลงาน ปี 2558-2559
กลุ่มเป้าหมายที่ผลผิดปกติได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100
60.00
3
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งลดลง ร้อยละ 20
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักและหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อหลีกเลี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้พบในระยะเริ่มแรกและลดอัตราการเกิดโรคในระยะรุนแรง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-01-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมถือเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีประเทศไทย เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะมะเร็งปากมดลูกพบมากอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรีถึง 3 คน ในประชากรหนึ่งแสนคนในแต่ละปี ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ประมาณ 4500 ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ 30-50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ Pap Smear แม้การตรวจมะเร็งปากมดลูกจะง่าย สะดวก ราคาถูกแต่ยังพบสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจคัดกรอง ส่วนมะเร็งเต้านมผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น การรักษามะเร็งเต้านมปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมาก การค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้และรักษาอาจทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออก ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทั้งเต้านม สถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง มีจำนวน 6 ราย แยกเป็นมะเร็งปากมดลูก 2 ราย มะเร็งเต้านม 4 ราย สำหรับการตรวจคัดกรองในปีงบประมาณ 2560 มีสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี จำนวน 753 คน ได้รับการคัดกรองไปแล้ว พ.ศ.2558-2559 จำนวน 350 คน เหลือกลุ่มเป้าหมายอีก 403 คน ในแต่ละปีมีการตัั้งเป้าหมายให้มีผู้เข้ารับบริการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการคัดเลือก คือ จำนวน 150 คน ในส่วนของมะเร็งเต้านมมีสตรีกลุ่มเป้าหมาย 30-70 ปี จำนวน 862 ราย ได้รับการคัดกรองแล้วปี 2558-2559 จำนวน 152 ราย ซึ่งกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เหล่านี้จำเป็นต้องได้รับบริการเสริมสร้างความรู้เพื่อให้เกิดความตระหนักในการเข้ารับบริการคัดกรองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักและหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อหลีกเลี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้พบในระยะเริ่มแรกและลดอัตราการเกิดโรคในระยะรุนแรง
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายตระหนักและเห็นความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 2.มีความรู้ในเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ระยะเวลา 2 วัน(เฉพาะช่วงบ่าย) แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 75 คน |
||
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560กิจกรรมที่ทำ-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 รุ่นๆละครึ่งวัน 150 คนๆ ละ1 มื้อๆ 25 บาท เป็นเงินจำนวน 3750 บาท - ค่าวิทยากรจำนวน 6 ซม.ๆละ 300 บาาทเป็นเงินจำนวน 1800 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรมให้ความรู้ จำนวน 150 ชุด ๆละ 27 บาท เป็นเงินจำนวน 4050 บาท -ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ผืน ขนาด 1*2 เมตร เป็นเงินจำนวน 400 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามารับการอบรม มีความรู้เพิ่ามมากขึ้น ร้อยละ 79.50 กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งเต้าม ร้อยละ 80.30 กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 42.40 พบกลุ่มเป้าหมายมีความผิดปกติ จำนวน 1 ราย และได้มีกดารส่งต่อไปโรงพยาบาล 1 ราย ปี 2560 ไม่มีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต
|
150 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงการเรียนรู้รับมือสู้มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย คือ สตรีอายุ 30 - 60 ปี ในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง โดยเชิญนาง สุภาพร อินทรสมบัติ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สังกัดสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขาชัยสน มาเป็นวิทยากรให้ความรู้ ซึ่งกลุ่มเป้าหมา จำนวน 150 คน ที่เข้าอบรม ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมูดลูกและมะเร็งเต้านม และ ไดัชมการสาธิตการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และจากการประเมินผลลัพธ์ตามตัวชย้วัด พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม มีความรู้เพิ่มมมากขึ้น ร้อยละ 79.50 กลุ่มเป้าหมายได้รรับการตรวจคัดครองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80.30 กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดครองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 42.40 พบกลุ่มาเป้าหมายมีความผิดปกติ จำนวน 1 ราย และได้รับการส่งต่อไปฏรงพยาบาล 1 ราย ปี 2560 ไม่มีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักและหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อหลีกเลี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความตระหนักเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 |
70.00 |
|
||
2 | เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้พบในระยะเริ่มแรกและลดอัตราการเกิดโรคในระยะรุนแรง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองตามเกณฑ์ ร้อยละ 60 รวมทั้งผลงาน ปี 2558-2559 กลุ่มเป้าหมายที่ผลผิดปกติได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100 |
60.00 |
|
||
3 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : อัตราป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งลดลง ร้อยละ 20 |
20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักและหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อหลีกเลี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้พบในระยะเริ่มแรกและลดอัตราการเกิดโรคในระยะรุนแรง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเรียนรู้สู้ภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปี 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหมอทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......