กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธานกลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านท่าควาย

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3312-02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2560 ถึง 15 พฤษภาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2560 - 15 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคประจำถิ่นถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก โรคฉี่หนู โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง โรคไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น แต่ละปีมีผู้ป่วยจำนวนมาก บางรายรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต รัฐบาลเล็งเห็นความสำคัญได้นำปัญหาโรคประจำถิ่นมากำหนดเป็นนโยบายในการดำเนินงาน โดยที่สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งต้องเตรียมความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรค ต้องบูรณาการแผนงาน กิจกรรมและงบประมาณกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่นๆ จากข้อมูลผู้ป่วยและเขตความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย มีผู้ป่วยโรคประจำถิ่นที่สำคัญเป็นปัญหาตามโรคดังกล่าวข้างต้นจากการวิเคราะห์ปัญหาพบว่าพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคของประชาชนไม่ดีเท่าที่ควร ส่งผลให้มีโรคระบาดเกิดขึ้นตามมา ดังนั้น อสม.รพ.สต.บ้านท่าควายจึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงกำหนดจัดโครงการเฝ้าระวังโรคระบาดประจำถิ่นในเขตรพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ2560 ขึ้นมา เพื่อรณรงค์ป้องกันโรคระบาดประจำถิ่น ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคประจำถิ่นนั่นเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น
  2. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น
  3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคระบาดประจำถิ่น มีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพและไม่มีการระบาดซ้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 90
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 722
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.จำนวนผู้ป่วยโรคประจำถิ่นลดลงและไม่มีการระบาดซ้ำ 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตัวในการป้องกันและควบคุมโรคประจำถิ่น 3.เกิดความร่วมมือในการเฝ้าระวังโรคระบาดประจำถิ่นร่วมกันระหว่างเทศบาลตำบลโคกม่วง หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ อสม.และประชาชนทั่วไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมเตรียมความพร้อมทีมเครือข่ายสุขภาพตำบล SRRT ระยะเวลา 2 วัน

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีม SRRT มีทักษะความรู้และมีความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครัวเรือนมีการเฝ้าระวังโรคระบาด ร้อยละ 80
    อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 อัตราป่วยโรคฉี่หนู และมือเท้าปาก ลดลง ร้อยละ 20

     

    50 50

    2. จัดซื้อทรายอะเบท โลชั่นกันยุง สื่อประชาสัมพันธ์โรคประจำถิ่น รณรงค์ป้องกันและควบคุมให้ประชาชนเฝ้าระวังระบาดในท้องถิ่น

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่ครัวเรือน จัดประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักในการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน โดยใช้แผ่นพับความรู้ การแนะนำด้วยวาจา รถแห่ สารกำจัดลูกน้ำยุงลาย โลชั่นทางกันยุง ทำให้ครัวเรือนตื่นตัวเฝ้าระวังโรคระบาด ร้อยละ 80 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 อัตราป่วยโรคมือเท้าปากและฉีหนู ลดลง ร้อยละ 40

     

    722 600

    3. ประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการสำรวจลูกนำ้ยุงลาย ดังนี้ หมู่ 12 ค่า HI 8.00 หมู่ 6 ค่า HI 9.00 หมู่ 5 ค่า HI 12.00 หมู่ 14 ค่า HI 14.00 ได้หมู่บ้านตัวอย่างในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 2 หมู่บ้าน

     

    40 620

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ทีม SRRT สามารถปฏิบัติงานได้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลง ร้อยละ 20 อัตราป่วยโรค มือ เท้า ปากและโรคฉี่หนูลดลง ร้อยละ 40 เกิดหมู้บ้านตัวอย่างการป้องกันโรค 2 หมู้บ้าน 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น
    ตัวชี้วัด : อัตราครัวเรือนมีการเฝ้าระวังโรคระบาดประจำถิ่น ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น
    ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับความรู้ อัตราร้อยละ 80

     

    3 เพื่อลดอัตราป่วยโรคระบาดประจำถิ่น มีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพและไม่มีการระบาดซ้ำ
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานของอัตราป่วยย้อนหลัง 5 ปี อัตราป่วยโรคมือเท้าปาก และโรคฉี่หนูลดลงร้อยละ 20

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 812
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 90
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 722
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น (3) เพื่อลดอัตราป่วยโรคระบาดประจำถิ่น มีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพและไม่มีการระบาดซ้ำ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดประจำถิ่น ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3312-02-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานกลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านท่าควาย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด