กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรัง ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางวรรณ์ดี จันทร์เทพ ประธานทีมสุขภาพคลีนิกเติมยาเรื้อรัง รพ.สต.บ้านนาโหนด




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 21 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรัง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 21 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากมีผู้ป่วยบางส่วนที่ต้องไปรับยาผ่านคลินิกเติมยาจากโรงพยาบาลพัทลุงโดยตรงและจากหน่วยบริการศูนย์สุขภาพชุมชนแม่ข่ายทำให้ผู้ป่วยซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุไม่สะดวกในการไปรับยาโรคเรื้อรัง เป็นเหตุให้ผู้ป่วยบางคนต้องขาดยาไม่ได้รับการรักษาที่ต่อเนื่อง การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยและค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ได้แก่ ไตวายเรื้อรัง โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคหัวใจและหลอดเลือด และการถูกตัดขา/ตัดนิ้ว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ จำนวน 504 คน และรับยาโรคเรื้อรังที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด จำนวน 130 คน ดังนั้นด้วยทีมสุขภาพคลินิกเติมยาเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย และป้องกันการขาดยาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินสุขภาพ อบรมให้ความรู้ จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้ถูกต้อง จำนวน 130 คน ๒. ผู้ป่วย จำนวน 130 คน ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง
๓. ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนไม่เกิน 10 คน จากจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด130 คน ๔. ผู้ป่วย จำนวน 130 ราย ได้รับการเยี่ยมบ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประเมินสุขภาพ อบรมให้ความรู้ จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรัง  อบรมให้ความรู้ จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 8 ครั้ง ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนกันยายน โดยแต่ละครั้งจะมีกิจกรรม ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องอาหาร)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการดูแลสุขพภาพตนเองเพื่อป้้องกันภาวะแทรกซ้อน ครั้งที่ 2 วันที่ 15 มีนาคม  2561
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการออกกำลังกาย)
พบแพทย์เพื่อปรับเปลี่ยนยา
ครั้งที่ 3 วันที่ 20 เมษายน 2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการรับประทานยาที่ถูกต้อง)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 4 วันที่ 18 พฤษภาคม 2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการบริหารเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 5 วันที่ 15 มิถุนายน  2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องโรคแทรกซ้อนที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 6 วันที่ 20 กรกฎาคม  2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องสมุนไพรใกล้ตัว)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 7 วันที่ 17 สิงหาคม  2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการผ่อนคลายความเครียดและการฝึกสมาธิ)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 8 วันที่ 21 กันยายน  2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการประเมินภาวะสุขภาพตนเองเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประเมินภาวะสุขภาพโดยการเจาะเลือดปลายน้ิวในผู้ป่วยเบาหวาน และวัดความดันโลหิตผู้ป่วยเรื้อรังทุกคน สรุป ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 120 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 2 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน ครั้งที่ 2 วันที่ 15 มีนาคม 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 199 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 23 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 15 คน ควบคุมไม่ได้ 5 คน
ผู้ป่วยเรื้อรังหลังการตรวจเลือดประจำปี ผลการตรวจเลือดผิดปกติ แพทย์ต้องมีการปรับเปลี่ยนยาเพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพ จำนวน 28 คน เป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 23 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 5 คน
ครั้งที่ 3 วันที่ 20 เมษายน 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 117 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 5 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 19 คน ควบคุมไม่ได้ 1 คน
ครั้งที่ 4 วันที่ 18 พฤษภาคม 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 118 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 4 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน
  ครั้งที่ 5 วันที่ 15 มิถุนายน  2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 120 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 2 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน
ครั้งที่ 6 วันที่ 20 กรกฎาคม  2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 120 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 2 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน
ครั้งที่ 7 วันที่ 17 สิงหาคม 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 122 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน
ครั้งที่ 8 วันที่ 21 กันยายน  2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 122 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน

 

145 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประเมินสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 8 ครั้ง ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนกันยายน โดยแต่ละครั้งจะมีกิจกรรม ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องอาหาร)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการดูแลสุขพภาพตนเองเพื่อป้้องกันภาวะแทรกซ้อน ครั้งที่ 2 วันที่ 15 มีนาคม 2561
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการออกกำลังกาย)
พบแพทย์เพื่อปรับเปลี่ยนยา
ครั้งที่ 3 วันที่ 20 เมษายน 2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการรับประทานยาที่ถูกต้อง)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 4 วันที่ 18 พฤษภาคม 2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการบริหารเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 5 วันที่ 15 มิถุนายน 2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องโรคแทรกซ้อนที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 6 วันที่ 20 กรกฎาคม 2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องสมุนไพรใกล้ตัว)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 7 วันที่ 17 สิงหาคม 2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการผ่อนคลายความเครียดและการฝึกสมาธิ)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ครั้งที่ 8 วันที่ 21 กันยายน 2561 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลในเลือด ลงทะเบียนในแฟ้มครอบครัว จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (เรื่องการประเมินภาวะสุขภาพตนเองเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน


จากการประเมินภาวะสุขภาพโดยการเจาะเลือดปลายน้ิวในผู้ป่วยเบาหวาน และวัดความดันโลหิตผู้ป่วยเรื้อรังทุกคน สรุป ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 120 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 2 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน ครั้งที่ 2 วันที่ 15 มีนาคม 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 199 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 23 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 15 คน ควบคุมไม่ได้ 5 คน
ผู้ป่วยเรื้อรังหลังการตรวจเลือดประจำปี ผลการตรวจเลือดผิดปกติ แพทย์ต้องมีการปรับเปลี่ยนยาเพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพ จำนวน 28 คน เป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 23 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 5 คน
ครั้งที่ 3 วันที่ 20 เมษายน 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 117 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 5 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 19 คน ควบคุมไม่ได้ 1 คน
ครั้งที่ 4 วันที่ 18 พฤษภาคม 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 118 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 4 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน
ครั้งที่ 5 วันที่ 15 มิถุนายน 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 120 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 2 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน
ครั้งที่ 6 วันที่ 20 กรกฎาคม 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 120 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ จำนวน 2 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน
ครั้งที่ 7 วันที่ 17 สิงหาคม 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 122 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน
ครั้งที่ 8 วันที่ 21 กันยายน 2561 กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการ 3 คน สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ทุกคน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ จำนวน 122 คน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 122 คน
กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มารับบรการ จำนวน 20 คน สามารถควบคุมโรคได้ จำนวน 20 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วย จำนวน 130 คน ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง
130.00 162.00

 

2 เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนไม่เกิน 10 คน จากจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 130 คน
10.00 0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้ถูกต้อง
130.00 162.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน (3)  เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินสุขภาพ อบรมให้ความรู้ จ่ายยาผู้ป่วยเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรัง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณ์ดี จันทร์เทพ ประธานทีมสุขภาพคลีนิกเติมยาเรื้อรัง รพ.สต.บ้านนาโหนด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด