กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค ในตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮาสเม๊าะ อามิง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค ในตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค ในตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค ในตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค ในตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,787.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัจจุบันปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขส่วนใหญ่มีสาเหตุจากประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชนซึ่งเห็นได้จากสภาวการณ์ของปัญหาสาธารณสุขที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่พบว่ากลุ่มโรคMetabolicโดยเฉพาะโรคอ้วนลงพุงความดันโลหิตสูงเบาหวานกำลังเป็นปัญหาสำคัญในทุกพื้นที่ อีกทั้งยังมีแนวโน้มเป็นปัญหาต่อเนื่องในอนาคตปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหากลุ่มโรคMetabolicได้แก่การสูบบุหรี่การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์การขาดการออกกำลังกายการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูงการรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ ตลอดจนสภาพปัญหาทางจิตใจอารมณ์ และความเครียด การสร้างเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีสามารถจัดการลดความเสี่ยงของตนเองได้จะเป็นกลไกพื้นฐานที่สำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงซึ่งการสร้างความรู้ความเข้าใจเพียงอย่างเดียวอาจไม่มีผลเพียงพอที่จะทำให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพได้การจัดกิจกรรมฝึกทักษะและการเสริมสร้างพลังแก่กลุ่มเป้าหมายจึงจำเป็นต้องทำควบคู่กับการให้ความรู้ความเข้าใจนำไปสู่การปฏิบัตินอกจากนี้การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งในระดับครอบครัว และชุมชนก็จะส่งผลให้ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีได้ ดังนั้นจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะเร่งการทำงานเชิงรุกในชุมชนเพื่อตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มผู้ที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปและให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไปซึ่งทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและโรงพยาบาลส่งแสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะจัดตั้งคลีนิค DPAC ในหน่วยงานเพื่อให้บริการคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรังซึ่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุศักยภาพในการดูแลตนเองไม่เต็มที่เนื่องจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เพื่อให้ควบคุมโรคได้และลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นควรมีการส่งเสริมศักยภาพในการดูแลตนเองเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีโดยทั่วหน้า ผลจากการดำเนินงานตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและโรงพยาบาลส่งแสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60 ที่ผ่านมาจากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 2,231 ราย ได้รับการคัดกรอง จำนวน 2,221 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.55 กลุ่มปกติ 1,220 ราย คิดเป็นร้อยละ 54.68 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 1,011 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.31 กลุ่มป่วย จำนวน 215 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.27 ราย ซึ่งกลุ่มเสี่ยงกลายเป็นกลุ่มป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชนดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มสี่ยงและลดโรคในตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขึ้น และได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอสนับสนุนให้ชุมชนมีการจัดการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้าน ต่าง ๆที่เอื้อต่อการให้กลุ่มเสี่ยงสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสมและส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีแก่กลุ่มประชาชนทั่วไปซึ่งยังไม่มีความเสี่ยงทั้งนี้การจัดการชุมชนให้สามารถลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพด้านต่าง ๆ ต้องดำเนินการควบคู่ไปด้วยกัน ทั้งการจัดการสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอื้อต่อการลดโอกาสเสี่ยงเช่นการกำหนดมาตรการทางสังคมของชุมชนและการให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้องรวมถึงมีความรู้ความเข้าใจจนเกิดความตระหนักสามารถดูแลสุขภาพและจัดการกับตนเองและครอบครัวให้สามารถควบคุมพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับที่พอเหมาะลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมการเสริมทักษะการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ และฝึกทักษะแก่กลุ่มเสี่ยง เรื่องโรคกลุ่ม Metabolic และ ๔ อ. (อาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ แอลกอฮอล์และบุหรี่) และการประเมินผล จำนวนไม่น้อยกว่า ๔ ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2,837
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการดูแลสุขภาพต่อเนื่อง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค 2.ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
3.ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้ 4.หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคMetabolicได้ ถูกต้อง เหมาะสมโดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กิจกรรมการเสริมทักษะการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ และฝึกทักษะแก่กลุ่มเสี่ยง เรื่องโรคกลุ่ม Metabolic และ ๔ อ. (อาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ แอลกอฮอล์และบุหรี่) และการประเมินผล จำนวนไม่น้อยกว่า ๔ ครั้ง

วันที่ 10 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดกิจกรรมแก่กลุ่มเป้าหมาย 1.1 จัดกิจกรรมการเสริมทักษะการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ และฝึกทักษะแก่กลุ่มเสี่ยง เรื่องโรคกลุ่ม Metabolic และ 4 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ แอลกอฮอล์และบุหรี่) และการประเมินผล จำนวนไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง 1.2 การติดตามประเมินผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และระดับความเสี่ยงของกลุ่มเป้าหมายต่อเนื่องทุก 3-6 เดือน และบันทึกผลทุกครั้ง 1.3 การอบรมให้ความรู้เรื่องและฝึกทักษะเรื่องการบริโภคอาหาร และอาหารสุขภาพแก่แกนนำครอบครัว 1.4 เดินรณรงค์ลดหวาน มัน เค็ม ในชุมชน โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม. 1.5 จัดอบรมฟื้นฟูการคัดกรองความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานสำหรับ อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ
  2. กิจกรรมต่อเนื่องในชุมชน 2.1 กำหนดมาตรการทางสังคมที่เหมาะสมโดยชุมชน เช่น การลดการใช้น้ำอัดลม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในงานต่างๆ รณรงค์ลดการจำหน่ายบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร้านจำหน่ายสินค้าในชุมชน การรณรงค์การใช้เครื่องปรุงรสในการปรุงอาหารในครัวเรือนและงานเลี้ยงต่าง ๆ เป็นต้น 2.2 การค้นหาและรวบรวมภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ 2.3 นำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชน 2.4 ยกย่องบุคคลต้นแบบของชุมชนเพื่อเป็นแบบอย่างแลแหล่งเรียนในชุมชน 2.5 สร้างกลุ่มแกนนำ/จิตอาสาในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน 2.6 มีการปลูกพืชผัก สมุนไพรไว้กิน/ใช้ในครัวเรือนและแลกเปลี่ยนในชุมชน 2.7 รณรงค์งดจำหน่ายน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ และลดการใช้น้ำหวาน เครื่องปรุงรสในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการดูแลสุขภาพต่อเนื่อง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค
  2. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
  3. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
  4. หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค Metabolic ได้ ถูกต้องเหมาะสม โดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน
  5. ผู้ป่วยโรคเรื่อรังมีศักยภาพในการดูแลตนเอง

 

2,917 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
2837.00 2837.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
2837.00 2837.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2837
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2,837
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมการเสริมทักษะการสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ และฝึกทักษะแก่กลุ่มเสี่ยง  เรื่องโรคกลุ่ม Metabolic  และ ๔ อ. (อาหาร  การออกกำลังกาย อารมณ์  แอลกอฮอล์และบุหรี่)  และการประเมินผล จำนวนไม่น้อยกว่า  ๔ ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยง และลดโรค ในตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสเม๊าะ อามิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด