กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายฮาวารี ดอเล๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2561 ถึง 5 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2561 - 5 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ท่ามกลางกระแสปฏิรูประบบสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ ปัจจุบันประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ และค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ตามที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบาย ๕ อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ประกอบด้วย การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์และสุขภาพจิต อนามัยชุมชน และอโรคยา ซึ่งให้เริ่มจากการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรกและบูรณาการกับกิจกรรมอื่น ๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้ภาครัฐสนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ ๖ ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน วันละ ๓๐ นาที ด้วยการออกกำลังกายแบบต่าง ๆ เช่น ปั่นจักรยาน วิ่ง ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น
ปัจจุบันเป็นยุคข่าวมูลข่าวสาร ค้นหาแหล่งการเรียนรู้โดยสื่อ โซเซียลมีเดีย มีผลต่อวิธีความเป็นอยู่ตลอดจนการดูแลสุขภาพ ทำให้ประชาชนไม่มีเวลาออกกำลังกายเพื่อดูแลสุขภาพ ร่วมทั้งฟื้นฟูสุขภาพ เนื่องมลพิษทางอากาศเป็นพิษ จากเผ่าไหม้ ทำลายสิ่งแวดล้อม การออกกำลังกายเป็นยาวิเศษ ทำให้ร่างกายแข็งแรง ตลอดจนยังช่วยให้มีความสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ ในชุมชน สร้างความความรักความสามัคคี ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ โดยปกติแล้วคนที่มีน้ำหนัก 50 กิโลกรัม ถ้าเดินในอัตราส่วนประมาณ 3 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง (เดินเร็ว) จะใช้พลังงานไป 2.3-60 = 138 กิโลแคลอรี การเดินทาง 1 ชั่วโมง เท่ากับการเผาพลาญข้าวสารอาหารและใช้พลังงานในปริมาณไล่ ๆ กับการเดิน 3 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นั้นหมายความว่าประโยชน์จากการขี่จักรยานก็คือการเผาผลาญและการใช้พลังงาน ทำให้ลดอัตราการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือด นอกจากนั้นการขี่จักรยานอย่างต่อเนื่องเป็นการออกกำลังแบบแอโรบิก ที่มีผลทำให้หัวใจแข็งแรง กล้ามเนื้อหัวใจทำงานได้ดีขึ้น การออกกำลังกายแบบแอโรบิกต่อเนื่อง ช่วยทำให้การไหลเวียนของเลือดทั่วร่างกายดีขึ้น รวมถึงเส้นเลือดที่หล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจและอวัยวะสำคัญในร่างกาย ได้แก่ สมอง ไต ลดการเก็บสะสมตะกรันไขมันในหลอดเลือดทั่วร่างกาย ดังนั้นจึงสามารถป้องกันสภาวะเส้นเลือดตีบตันในอวัยวะสำคัญดังกล่าวข้างต้น นอกจากนั้นการขี่จักรยานยังเป็นการออกกำลังกายแบบแอโรบิกที่ช่วยระบบการหายใจ เพิ่มประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในถึงลมปอดให้ดีขึ้นและยังเพิ่มระดับฮอร์โมน เอ็นดอร์ฟินอันจะช่วยลดความเครียดในร่างกายให้ลดลงอย่างมีประสิทธิภาพ (ที่มา : ประโยชน์ทางการแพทย์จากการขี่จักรยาน โดย นพ.ชาญวิทย์ โคธีรานุรักษ์ ข้อมูลจากนิตยสาร Health Today) และการขี่จักรยาน
เป็นกิจกรรมที่ง่ายที่สุด ที่ครอบครัวจะทำร่วมกันได้ โดยเฉพาะในสภาพการณ์ปัจจุบันที่การใช้ชีวิตของคนส่วนใหญ่ เป็นไปด้วยความเร่งรีบทำให้ไม่มีเวลาทั้งในการออกกำลังกาย และไม่มีเวลาทำกิจกรรมร่วมกันใน ครอบครัว การปั่นจักรยานจึงเป็นกิจกรรม อย่างหนึ่งที่สมาชิกในครอบครัวทุกเพศทุกวัยสามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้ การปั่นจักรยานเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งการปั่นจักรยานยั้งเป็นการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จุดประกายและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชน ประชาชนหรือผู้ที่พบเห็นทั่วไปได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย และการปั่นจักรยานเป็นการออกกำลังกายอีกประเภทหนึ่งที่ไม่จำกัดเพศ อายุ วัยและเป็นกีฬาที่ช่วยลดมลพิษทางอากาศ รักษาสภาพแวดล้อม ประหยัดพลังงาน ทั้งช่วยรณรงค์ในการลดภาวะโลกร้อนอีกด้วย ชมรมจักรยานดุซงญอ ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญให้ประชาชนในชุมชนหันมาสนใจในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และเป็นการรณรงค์เพื่อสุขภาพ จึงได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ จัดได้จัดทำโครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ขึ้น เพื่อครอบคลุมทุกด้านทั้งร่างกาย จิตใจ การใช้ชีวิตร่วมกันในครอบครัวอย่างมีความสุข ซึ่งจะเป็นพลังในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่สำคัญ โดยรวมกลุ่มบุคคลที่มีใจรักในการปั่นจักรยาน ใส่ใจที่ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีอย่างต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
  2. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
  3. เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
  4. เพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพให้แข็งแรง
  5. เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย
  6. เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จานวน 200 คน 2. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของชมรม 3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอรับการสนับสนุนเจ้าหน้าที่ของรัฐดูแลการปั่นตลอดเส้นทาง วิทยากร สถานที่อบรมและดำเนินการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชน สมาชิกชมรมจักรยาน มีสุขภาพกายสุขภาพจิต การฟื้นฟูร่างกาย ดีขึ้น
  2. ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
  3. ประชาชนได้รับการส่งเสริม และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  4. ประชาชนมีเจตคติที่ดีต่อการออกกำลังกาย
  5. เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายมากขึ้น
  6. ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมให้ปราศจากมลพิษและประหยัดพลังงาน
  7. ช่วยรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน ดูแลสภาพแวดล้อมของชุมชน
  8. เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการออกกำลังกาย ให้แก่ผู้พบเห็นสร้างแรงกระตุ้นให้อยากร่วมออกกำลังเพิ่มมากขึ้น
  9. สร้างความรักความสามัคคีให้เพิ่มขึ้นจากการสร้างกิจกรรมร่วมกัน สามารถสร้างสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกในการรักษ์สิ่งแวดล้อม
  10. นักปั่นและประชาชนทั่วไปทั้งในตำบลดุซงญอได้ตระหนักถึงการเสริมสร้างสุขภาพของตนเองและครอบครัว
  11. สร้างแรงจูงใจให้กับนักปั่นและครอบครัวดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จานวน 200 คน 2. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของชมรม 3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอรับการสนับสนุนเจ้าหน้าที่ของรัฐดูแลการปั่นตลอดเส้นทาง วิทยากร สถานที่อบรมและดำเนินการอบรม

วันที่ 9 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เขียนโครงการและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดุซงญอ เพื่อพิจารณาอนุมัติ
  2. สำรวจ และวางแผนผังเส้นทางในการป้่นจักรยาน
  3. ประสานจิตอาสาเพื่อปฏิบัติหน้าที่เพื่ออำนวยความสะดวกในการสมาชิกชมรมและผู้ร่วมโครงการปั่น
  4. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ที่สนใจเข้ากิจกรรมโครงการ จำนวน 200 คน
  5. รวบรวมข้อมูลการทำกิจกรรมระหว่างสมาชิกและผู้ร่วมโครงการ
  6. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของชมรม
  7. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอรับการสนับสนุนเจ้าหน้าที่ของรัฐดูแลการปั่นตลอดเส้นทาง วิทยากร และสถานที่อบรม
  8. จัดประชุมคณะกรรมการในการดำเนินโครงการ ฯ
  9. ดำเนินการอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพ
  10. เริ่มปล่อย ณ จุด อบต.ดุซงญอ ผ่านหมู่ที่ 1, 3, 4, 5, 6 และ 7 ตำบลดุซงญอ วนมาสิ้นสุดที่จุดเริ่มปล่อยขบวน (อบต.ดุซงญอ) รวมระยะทางประมาณ 45 กิโลเมตร
  11. สรุปและประเมินผลโครงการจากจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชน สมาชิกชมรมจักรยาน มีสุขภาพกายสุขภาพจิต การฟื้นฟูร่างกาย ดีขึ้น
  2. ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพดี ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งบางชนิด
  3. ประชาชนได้รับการส่งเสริม และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  4. ประชาชนมีเจตคติที่ดีต่อการออกกำลังกาย
  5. เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายมากขึ้น
  6. ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมให้ปราศจากมลพิษและประหยัดพลังงาน
  7. ช่วยรณรงค์การลดภาวะโลกร้อน ดูแลสภาพแวดล้อมของชุมชน
  8. เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการออกกำลังกาย ให้แก่ผู้พบเห็นสร้างแรงกระตุ้นให้อยากร่วมออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
  9. ประชาชนทั่วไปได้ตระหนักถึงการเสริมสร้างสุขภาพของตนเองและครอบครัว
  10. ประชาชนมีความรักความสามัคคี เพิ่มขึ้นจากการสร้างกิจกรรมร่วมกัน สามารถสร้างสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกในการรักษ์สิ่งแวดล้อม
  11. ประชาชนใส่ใจรักในสุขภาพมากขึ้น

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรในชุมชน
70.00 200.00

 

2 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
60.00 200.00

 

3 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
60.00 200.00

 

4 เพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพให้แข็งแรง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ออกกำลังกายในชุมชน
200.00

 

5 เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ในพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของประชาชน
200.00

 

6 เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ออกกำลังกายในชุมชน
200.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน (2) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (3) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (4) เพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตดีที่สมบูรณ์อีกทั้งยังช่วยฟื้นฟู บำบัดสุขภาพให้แข็งแรง (5) เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในการปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกาย และส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีในการออกกำลังกาย (6) เพื่อกระตุ้นคนในชุมชนให้เกิดแรงจูงใจในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปั่นจักรยาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จานวน 200 คน 2. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของชมรม 3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอรับการสนับสนุนเจ้าหน้าที่ของรัฐดูแลการปั่นตลอดเส้นทาง วิทยากร สถานที่อบรมและดำเนินการอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายจักรยานเพื่อสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฮาวารี ดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด