กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการค้นหาภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลมูบิง ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการค้นหาภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2561 ถึง 3 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค้นหาภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหาภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค้นหาภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2561 - 3 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aged Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กล่าวคือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ และเพิ่มเป็นร้อยละ 15 ของประชากรทั้งประเทศ เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา คาดว่าประเทศไทยจะมีประชากรสูงอายุสูงถึงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2564 กลายเป็น “สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์” (complete aged society) และคาดว่าในปี 2568 ประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น 14.5 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 21 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งจะทำให้เกิดภาวะเสี่ยงต่อความเจ็บป่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรังตามมา ทั้งนี้โรคสมองเสื่อม เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ โดยพบว่ากลุ่มเสี่ยงคือช่วงอายุ 65 ปีขึ้นไป หรืออายุ 40 ปีขึ้นไป มีปัญหาความจำหรือปัจจัยเสี่ยง เช่น กรรมพันธุ์ มีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง ไขมัน เบาหวาน และสูบบุหรี่ เป็นต้น (กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข, 2556) นับว่าโรคสมองเสื่อมเป็นโรคที่รุนแรงในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาให้หายขาดได้ และยังขาดความสนใจของผู้สูงอายุ และผู้ดูแล (Care giver) ในการตระหนักถึงโรคดังกล่าวซึ่งจำเป็นต้องหาแนวทางในการดูแลปัญหาดังกล่าวอย่างใกล้ชิด มีการศึกษาเกี่ยวกับความซุกของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุไทยมีประมาณร้อยละ 2 – 10 โรคสมองเสื่อมเป็นปัญหาสุขภาพที่เริ่มก่อตัวเพิ่มขึ้นอย่างเงียบ ๆ เป็นภาวะที่สมองมีระดับในการจัดการวางแผนดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ลดลง ทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ คิดสิ่งต่าง ๆ ไม่ออก แยกของต่าง ๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันไม่ได้ จำทางไม่ได้ บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง วิตกกังวล ซึมเศร้า ซึ่งจะทำให้เกิดความบกพร่องในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งกิจวัตรประจำวัน ส่งผลกระทบต่อผู้ดูแลและสังคมอย่างมาก หากผู้ใกล้ชิดไม่มีความรู้พื้นฐานด้านนี้ ก็มักจะมองข้ามแม้มีอาการแสดงขึ้นมาบ้างแล้วก็ตาม ด้วยความเข้าใจผิดไปว่าเป็นอาการปกติทั่วไปของความชราภาพกลายเป็นการละเลยจนทำให้อาการของโรคพัฒนามากขึ้นจนยากที่จะแก้ไขให้กลับมาเป็นปกติได้ ด้วยเหตุนี้ชมรมผู้สูงอายุตำบลดุซงญอ ได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ ในการจัดทำโครงการค้นหาภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุตำบลดุซงญอขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุตระหนักถึงภัยเงียบที่อยู่ใกล้ตัวนี้ รวมทั้งยังได้มีความคิดเห็นในการเสริมกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ ญาติ และผู้ดูแล (Care giver) ร่วมด้วย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ภัยเงียบภาวะโรคสมองเสื่อม
  2. เพื่อสำรวจและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ
  3. เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุให้ช้าลง
  4. เพื่อส่งต่อการรักษาได้ทันท่วงทีไม่ให้โรคสมองเสื่อมลุกลาม
  5. เพื่อกระตุ้นให้ขุมชนตื่นตัว ดูแลสุขภาพซึ่งกันและกันมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชาสัมพันธ์เพื่อหากลุ่มเป้าหมายและผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขออนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินงานและเพื่อเป็นวิทยากรฝึกอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ 3. ประสานจัดหาสถานที่ดำเนินการตามโครงการ 4. ดำเนินการตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้โรคสมองเสื่อมและสามารถป้องกันภาวะสมองเสื่อมให้ช้าลง
  2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะโรคสมองเสื่อมได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องและมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ
  3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมได้รับการตรวจคัดกรองอย่างทันท่วงที
  4. มีข้อมูลความซุกภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุตำบลดุซงญอ เพื่อนำมาวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชาสัมพันธ์เพื่อหากลุ่มเป้าหมายและผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขออนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินงานและเพื่อเป็นวิทยากรฝึกอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ 3. ประสานจัดหาสถานที่ดำเนินการตามโครงการ 4. ดำเนินการตามโครงการ

วันที่ 9 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เขียนโครงการเสนอติคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลดุซงญอ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
  2. ประชาสัมพันธ์เพื่อหากลุ่มเป้าหมายและผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขออนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินงานเพื่อเป็นวทยากรฝึกอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ
  4. ประสานจัดหาสถานที่ดำเนินการตามโครงการ
  5. ดำเนินตามโครงการ จัดอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ เรื่องภัยเงียบภาวะโรคสมองเสื่อม และดำเนินการค้นหาภาวะโรคสมองเสื่อมโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  6. สรุปและประเมินผลโครงการ โดยสอบถามความพึงพอใจในโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้โรคสมองเสื่อมและสามารถป้องกันภาวะสมองเสื่อมให้ช้าลง
  2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะโรคสมองเสื่อมได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องและมีการส่งต่อแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ
  3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมได้รับการตรวจคัดกรองอย่างทันท่วงที
  4. มีข้อมูลความซุกภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุตำบลดุซงญอ เพื่อนำมาวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไป

 

400 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ภัยเงียบภาวะโรคสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ และช่วยชะลอภาวะโรคสมองเสื่่อมให้ช้าลง
400.00

 

2 เพื่อสำรวจและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ
ตัวชี้วัด : มีข้อมูลความซุกภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุตำบลดุซงญอ เพื่อนำมาวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไป
400.00

 

3 เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุให้ช้าลง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมได้รับการตรวจคัดกรองอย่างทันท่วงที
400.00

 

4 เพื่อส่งต่อการรักษาได้ทันท่วงทีไม่ให้โรคสมองเสื่อมลุกลาม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะโรคสมองเสื่อมได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องและมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ
400.00

 

5 เพื่อกระตุ้นให้ขุมชนตื่นตัว ดูแลสุขภาพซึ่งกันและกันมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมได้รับการตรวจคัดกรองอย่างทันท่วงที
400.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ภัยเงียบภาวะโรคสมองเสื่อม (2) เพื่อสำรวจและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ (3) เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุให้ช้าลง (4) เพื่อส่งต่อการรักษาได้ทันท่วงทีไม่ให้โรคสมองเสื่อมลุกลาม (5) เพื่อกระตุ้นให้ขุมชนตื่นตัว ดูแลสุขภาพซึ่งกันและกันมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชาสัมพันธ์เพื่อหากลุ่มเป้าหมายและผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขออนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินงานและเพื่อเป็นวิทยากรฝึกอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ 3. ประสานจัดหาสถานที่ดำเนินการตามโครงการ 4. ดำเนินการตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค้นหาภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลมูบิง ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด