กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภาพร จิตราช

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-2-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aged Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กล่าวคือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ และเพิ่มเป็นร้อยละ 15 ของประชากรทั้งประเทศ เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา คาดว่าประเทศไทยจะมีประชากรสูงอายุสูงถึงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2564 กลายเป็น “สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์” (complete aged society) จากการสำรวจของกรมอนามัย (2556) พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ 95 เจ็บป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่ง ส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรังซึ่งนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและพึ่งพิง และมีผู้ป่วยนอนติดเตียงร้อยละ 1 นอกจากนั้นยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระดับสูงแต่ต้องดูแลตนเองหรือไม่มีคนดูแลถึงร้อยละ 13 รัฐบาลให้ความสำคัญในการดำเนินการเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ มีเป้าหมายสำคัญที่จะป้องกันมิให้ผู้สูงอายุที่ยังแข็งแรงเกิดการเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง และหากอยู่ในภาวะพึ่งพิงก็ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม
จากสถานการณ์ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุในระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ คือ โรคข้อเสื่อม และจากสถิติของผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อในไทยของมูลนิธิโรคข้อพบว่าในปี 2549 ไทยมีผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมกว่า 6 ล้านคนในทุกกลุ่มอายุ และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอีกทุก ๆ ปี ผู้ชายจะเป็นโรคนี้มากกว่าผู้หญิง และยังพบอีกว่าทั้งชายและหญิงที่มีอายุ 75 ปีขึ้นไปจะป่วยเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมากกว่าร้อยละ 80 – 90 สาเหตุที่สำคัญมาจากการดูแลตัวเองไม่ค่อยถูกต้อง ในเรื่องของกิจวัตรประจำวัน อาหารการกิน การทำงาน การดูแลตนเอง มีแต่จะเสริมให้คนไทยเรา เข้าสู่สภาพโรคข้อ เข่าเสื่อมกันเร็ว และรุนแรงมากขึ้นและปัจจัยเสริมหลาย ๆ อย่างประกอบกันเช่น อ้วน อายุมาก การนั่งยอง ๆ หรือนั่งพับเพียบบ่อย ๆ นาน ๆ กระทำติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี หรือการได้รับบาดเจ็บ ที่บริเวณข้อเข่า โรคข้อเสื่อมเป็นปัญหาทางสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อบุคคลในครอบครัว ทั้งในเรื่องการดูแล และการรักษา โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน เกิดการเสื่อมของข้อ ทำให้มีการงอกของกระดูกเวลาเดินจะเจ็บข้อ มีการผิดรูปของเข่า โรคข้อเข่าเสื่อมมักพบในผู้สูงอายุทำให้เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง และทำให้โรคอื่น ๆ กำเริบ เช่นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เนื่องจากออกกำลังกายไม่ได้ ประเทศชาติต้องใช้งบประมาณอย่างมากในการดูแลผู้ป่วย สำหรับตัวผู้ป่วยเองอาจทำให้เกิดความพิการ มีข้อเข่าผิดรูปส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ทำงานได้ตามความสามารถ ทำให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความสุขตามศักยภาพ จึงมีความสำคัญยิ่ง องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอมีประชากรทั้งหมด 10,161 คน (ข้อมูล ณ กันยายน 2560) มีผู้สูงอายุจำนวน 794 คน คิดเป็นร้อยละ 7.81 ของประชากร จากการตรวจประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอลโดยหน่วยบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ พบผู้สูงอายุที่มีคะแนนเอดีแอลเท่ากับหรือน้อยกว่า 11 คะแนน (ติดบ้าน ติดเตียง) จำนวน 22 คน ผู้สูงอายุเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือทั้งด้านบริการสาธารณสุข และด้านสังคม ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยมีทั้งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานซึ่งได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องอยู่แล้ว แต่อีกปัญหาหนึ่งที่พบในโรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อคือภาวะข้อเสื่อมซึ่งจากการคัดกรองภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลดุซงญอพบว่ามีผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการคัดกรองเข่าประมาณ 300 คน ที่มีภาวะเรื่องข้อ เข่าเสื่อม
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ ได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้บูรณาการร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ ในการจัดทำโครงการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุตำบลดุซงญอขึ้น เพื่อเสริมสร้างและป้องกันภาวะข้อเข่าเสื่อมไม่ให้มีความรุนแรงมากขึ้น การให้ความรู้เรื่องโรคและคำแนะนำที่สอดคล้องกับภาวะผู้ป่วยจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อที่ผู้ป่วยจะได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ สามารถปฏิบัติตนให้เหมาะสมทั้งเรื่องการควบคุมน้ำหนัก การกินยา การบริหารกล้ามเนื้อ การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง และการได้รับการดูแลที่ถูกต้องมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ผู้สูงอายุเกี่ยวกับโรคข้อเสื่อม รวมไปถึงการรักษาหรือการดูแลตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง
  2. เพื่อได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ
  3. เพื่อป้องกันหรือชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อม
  4. เพื่อตรวจคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเสื่อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1) คัดกรองประเมินผู้สูงอายุที่มีภาวะปวดเข่า โดยประมาณ 300 คน 2) ให้ความรู้เรื่องโรคและคำแนะนำที่สอดคล้องกับสภาวะผู้ป่วย 3) ติดตามผู้ป่วยพร้อมการทบทวนกิจกรรมทักษะปฏิบัติการในการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่าเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 ครั้ง เพื่อประเมินผลการดูแลต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเสื่อม รวมไปถึงการรักษาหรือการดูแลตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง
    1. ป้องกันและชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อมที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ
    2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องและมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ
    3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเสื่อมได้รับการตรวจคัดกรองอย่างทันท่วงที

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1) คัดกรองประเมินผู้สูงอายุที่มีภาวะปวดเข่า โดยประมาณ 300 คน 2) ให้ความรู้เรื่องโรคและคำแนะนำที่สอดคล้องกับสภาวะผู้ป่วย 3) ติดตามผู้ป่วยพร้อมการทบทวนกิจกรรมทักษะปฏิบัติการในการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่าเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 ครั้ง เพื่อประเมินผลการดูแลต

วันที่ 7 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. คัดกรองประเมินผู้สูงอายุที่มีภาวะปวดเข่า โดยประมาณ 300 คน ตามแบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) เพื่อประเมินความรุนแรงของอาการปวดเข่าคัดเลือกผู้สูงอายุที่มีถาวะข้อเสื่อมในตำบลดุซงญอ จำนวน 120 คน ตามระดับความรุนแรงคะแนน 30-39 คะแนน เพื่อเข้ารับการอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเอง การออกกำลังกายและรับการฝึกบำบัดเพื่อลดอาการปวดเข่า
  2. ให้ความรู้เรื่องโรคและคำแนะนำที่สอดคล้องกับสภาวะผู้ป่วย เรื่องการควบคุมน้ำหนัก การกินยา การฝึกทักษะปฏิบัติการ การบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่า
  3. ติดตามผู้ป่วยพร้อมการทบทวนกิจกรรมทักษะปฏิบัติการในการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่าเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 ครั้ง เพื่อประเมินผลการดูแลตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม รวมไปถึงการรักษาหรือการดูแลตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง
  2. ป้องกันและชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อมที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ
  3. ผู้สูงอายุที่มีภาวะโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องและมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ
  4. ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการตรวจคัดกรองอย่างทันท่วงที

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ผู้สูงอายุเกี่ยวกับโรคข้อเสื่อม รวมไปถึงการรักษาหรือการดูแลตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ โรคข้อเข่าเสื่อม สามารถดูแลตนเองเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
120.00

 

2 เพื่อได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องและมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ
120.00

 

3 เพื่อป้องกันหรือชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อม
ตัวชี้วัด : ป้องกันและชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อมที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ
120.00

 

4 เพื่อตรวจคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเสื่อม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเสื่อมได้รับการตรวจคัดกรองร้อยละ 80
120.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ผู้สูงอายุเกี่ยวกับโรคข้อเสื่อม รวมไปถึงการรักษาหรือการดูแลตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง (2) เพื่อได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องมีการส่งต่อพบแพทย์ตามระดับความรุนแรงของโรคตามลำดับ (3) เพื่อป้องกันหรือชะลอความรุนแรงของโรคข้อเสื่อม (4) เพื่อตรวจคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเสื่อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1) คัดกรองประเมินผู้สูงอายุที่มีภาวะปวดเข่า โดยประมาณ  300  คน  2) ให้ความรู้เรื่องโรคและคำแนะนำที่สอดคล้องกับสภาวะผู้ป่วย 3) ติดตามผู้ป่วยพร้อมการทบทวนกิจกรรมทักษะปฏิบัติการในการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่าเดือนละ 1  ครั้ง จำนวน 3 ครั้ง เพื่อประเมินผลการดูแลต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ

รหัสโครงการ 61-L2476-2-24 ระยะเวลาโครงการ 28 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุภาพร จิตราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด