กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธานกลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านควนหมอทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3312-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 สิงหาคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 สิงหาคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยสำคัญและเป็นสิ่งจำเป็นต่อสุขภาพ แต่หากอาหารมีสารอันตรายปนเปื้อนหรือแม้แต่สารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้แต่มีปริมาณที่มากกว่ากำหนด ย่อมก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคและส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี เป็นสิ่งที่รัฐและผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวังและป้องกันให้กับประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยมีคุณค่าทุกพื้นที่ ปัจจุบันปัญหาสำคัญพบในอาหารสด มักมีสารปนเปื้อนอยู่มาก เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาว หรืออาจถึงกับชีวิตได้ ส่วนใหญ่ร้านค้าจะเห็นประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าผู้บริโภคโดยมีการใช้สารปนเปื้อนกับอาหารในการหวังผลกำไรโดยไม่คำนึงถึงโทษที่จะเกิดขึ้นกับผู้บริโภคในอนาคต สารปนเปื้อนในอาหาร 4 ชิด ได้แก่ สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารกันรา และสารฟอกขาว รวมถึงโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะโรคอุจจาระร่วงและโรคเรื้อรังเกี่ยวกับโภชนาการ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายที่มีอยู่ในอาหาร ได้รับการป้องกันที่เกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร ลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังห่วงโซ่อาหาร ซึ่งสถานประกอบการด้านอาหารตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ ได้แก่ ร้านอาหาร แผงลอย เร่ขาย โรงอาหาร ให้ปราศจากพิษภัยและมีคุณค่าครบถ้วน และเพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานร้านอาหารและโรงอาหารให้ถูกสุขลักษณะและได้มาตรฐาน นอกจากนั้นเป็นการเ้ฝ้าระวัง ป้องกัน เพื่อวางมาตรการในการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการและครูอนามัยเรื่องสุขาภิบาลอาหารและการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
  2. เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้ในการประเมินร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหาร และตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร
  3. เพื่อให้ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น และเกณฑ์ Clean Food Ttase
  4. เพื่อให้โรงอาหารในโรงเรียนและศพด.ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร
  5. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนประถมศึกษามีความรู้เรื่องอาหารถูกหลักโภชนาการของเด็ก
  6. เพื่อตรวจสารเคมีกำจัดศรัตรูพืช ระดับเอนไซม์คอลีนเอสเตอเรสในเลือดแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 141
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มีความตระหนักถึงการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานและ Clean Food Good Taste 2.โรงอาหารในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร 3.เกษตรกรเอนไซม์คอลีนเอสเตอเรสในเลือดอยู่ในกลุ่มที่ปลอดภัยและปกติเพิ่มขึ้นและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคประกอบอาชีพ 4.ผู้ปกครองนักเรียนประถมศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำเด็กให้รับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่ออบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการและครูอนามัยเรื่องสุขาภิบาลอาหารและการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
    ตัวชี้วัด : อัตราผู้เข้าร่วมอบรม ร้อยละ 100

     

    2 เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้ในการประเมินร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหาร และตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร
    ตัวชี้วัด : คณะทำงานมีความรู้ในการประเมินร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารและตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ร้อยละ 100

     

    3 เพื่อให้ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น และเกณฑ์ Clean Food Ttase
    ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่นและเกณฑ์ Clean Food Ttase ร้อยละ 100

     

    4 เพื่อให้โรงอาหารในโรงเรียนและศพด.ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร
    ตัวชี้วัด : โรงอาหารในโรงเรียนและศพด.ฝ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารร้อยละ 100

     

    5 เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนประถมศึกษามีความรู้เรื่องอาหารถูกหลักโภชนาการของเด็ก
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองนักเรียนประถมศึกษามีความรู้เรื่องอาหารถูกหลักโภชนาการของเด็กร้อยละ 100

     

    6 เพื่อตรวจสารเคมีกำจัดศรัตรูพืช ระดับเอนไซม์คอลีนเอสเตอเรสในเลือดแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่มีระดับเอนไซม์คอลีนเอสเตอเรสในเลือดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงไม่ปลอดภัย/และปกติ มาสู่กลุ่มปลอดภัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 141
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 141
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการและครูอนามัยเรื่องสุขาภิบาลอาหารและการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร (2) เพื่อให้คณะทำงานมีความรู้ในการประเมินร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหาร และตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร (3) เพื่อให้ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น และเกณฑ์ Clean Food Ttase (4) เพื่อให้โรงอาหารในโรงเรียนและศพด.ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร (5) เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนประถมศึกษามีความรู้เรื่องอาหารถูกหลักโภชนาการของเด็ก (6) เพื่อตรวจสารเคมีกำจัดศรัตรูพืช ระดับเอนไซม์คอลีนเอสเตอเรสในเลือดแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3312-02-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานกลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านควนหมอทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด